Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11611
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชฎาพร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสันติ วิสุทธิ์สิริ, 2499--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-27T07:29:00Z-
dc.date.available2024-02-27T07:29:00Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11611-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคน้ำมันเบนซินและพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกบริโภคน้ำมันเบนซินตามคุณภาพออกเทน รวมทั้งศึกษาความคิดเห็น การรับรู้ และทัศนคติของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกบริโภคน้ำมันเบนซิน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลต่อความต้องการน้ำมันเบนซินออกเทน 87 คือจำนวนรถจักรยานยนต์ ราคาน้ำมันเบนซินออกเทน 87 และออกเทน 91 ส่วนปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อความต้องการน้ำมันเบนซินออกเทน 91 และออกเทน 95 คือ จำนวนประชากร จำนวนรถแท็กซี่ที่ใช้น้ำมันเบนซิน ราคาน้ำมันเบนซินออกเทน 91 และออกเทน 95 สำหรับความต้องการน้ำมันเบนซินออกเทน 95 มีปัจจัยจำนวนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลเข้ามามีอิทธิพลเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งปัจจัย ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการน้ำมันเบนซินออกเทนรวม คือจำนวนจักรยานยนต์ จำนวนรถยนต์นั่งส่วนบุคคล จำนวนรถบรรทุกเล็กที่ใช้น้ำมันเบนซิน และราคาน้ำมันเบนซินออกเทนรวมเฉลี่ย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แห่งการกำหนด (R3 เท่ากับ 0.816 0.937 0.971 และ 0.802 ส่วนค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยของร้อยละความคลาดเคลื่อนกำลังสอง (RMSPE) เท่ากับ 0.04 0.57 0.02 และ 0.59 ตามลำดับซึ่งแสดงถึงความสามารถของแบบจำลองความต้องการน้ำมันเบนซินออกเทน 87 ออกเทน 91 ออกเทน 95 และออกเทนรวม ใช้พยากรณ์ได้ใกล้เคียงความเป็นจริง นอกจากนี้ยังพบว่าพฤติกรรมการเลือกบริโภคน้ำมันเบนซินตามคุณภาพออกเทนไม่ขึ้นอยู่กับเพศและระดับอายุของผู้บริโภคที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยการเลือกบริโภคน้ำมันเบนซินของผู้บริโภคตามคุณภาพออกเทนจะมีเกณฑ์การตัดสินใจโดยให้ลำดับความสำคัญกับปัจจัยต่าง ๆ คือ สิ่งจูงใจรอบข้าง ราคา การรณรงค์ของรัฐ คุณภาพออกเทน และคุณภาพเครื่องยนต์ แตกต่างกันออกไปตามประเภทของผู้ใช้น้ำมัน ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษาครั้งนี้คือ การลอยตัวราคาน้ำมันอย่างสมบูรณ์เป็นสิ่งจำเป็นที่รัฐบาลต้องเร่งดำเนินการ และผู้ใช้น้ำมันจะต้องร่วมมือกันรณรงค์ประหยัดการใช้น้ำมันอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยการเติมน้ำมันที่มีค่าออกเทนเหมาะสมกับเครื่องยนต์ ตรวจสภาพเครื่องยนต์อย่างสม่ำเสมอ ปรับเปลี่ยนทัศนะคติการใช้ น้ำมัน รวมทั้งมีการจัดระบบขนส่งมวลชนใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ ที่จะช่วยลดและประหยัดการใช้น้ำมันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectน้ำมันเบนซินth_TH
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการน้ำมันเบนซินและการตัดสินใจเลือกบริโภคน้ำมันเบนซินตามคุณภาพออกเทนth_TH
dc.title.alternativeA study of factors affecting demand for benzene and decision making selecting benzene according to octane qualityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were to study factors effecting the demand of Benzene and selecting behavior for consumption of Benzene according to its octane rating including study opinions awareness and attitude of consumers on decision to Benzene consumption. The research was a quantitative research using the secondary data which was quarterly time series and the data was analyzed by using the multiple regression analysis. While the survey research was done by sampling 400 consumers in Bangkok with the cluster sampling method. The data was subsequently analyzed by using descriptive statistics in percentage and then the relation of factors was tested with chi-square statistic. It was found that economic factors influencing the demand of 87 octane Benzene were the number of motorcycles and the price of 87 and 91 octane Benzene. While economic factors influencing the demand of 91 and 95 octane Benzene were the number of population, the number of taxis using Benzene and the price of 91 and 95 octane Benzene. For the demand of 95 octane Benzene, there was also the number of personal car as an additional factor. While economic factors influencing demand of all rate of octane Benzene were the number of motorcycles, the number of personal car, the number of small truck using Benzene and the average price of all rate of octane Benzene with its coefficient of determination (R2) were equal to 0.816, 0.937, 0.971 and 0.802.The Root Mean Squared Percentage Error (RMSPE) value was equal to 0.04, 0.57, 0.02 and 0.59 respectively. This demonstrated that the capacity of the model of demand for 87, 91, 95 and all rates of octane were forecasted closely to the reality. It was also found that Benzene consumption behavior according to octane quality was not depend on gender and age of consumers at the significant level of 0.05. The Benzene consumption behavior according to octane quality relied on the criteria for decision making which was sequenced by the importance of factors namely surrounding motivation, price, government campaign, octane quality and engine performance varying from types of fuel user, The research recommendation according to the result of the study was that the completely floating of fuel price was needed to be done accelerately by the government and the fuel consumers needed to cooperate with fuel saving campaign seriously and continuously. This can be done by using fuel appropriated to the engine, having engine regularly check, changing the attitude on fuel using including providing various types of public transportation in order to reduce and save fuelen_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
84217.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons