Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11615
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ พันธวิศิษฏ์th_TH
dc.contributor.authorศิริพร สารคล่อง, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-27T08:00:18Z-
dc.date.available2024-02-27T08:00:18Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11615-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractผลการศึกษาสภาพทั่วไป พบว่าเกษตรกรมีอายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการปลูกพืชวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อ (1) ศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตและการตลาดเม่าหลวงในจังหวัดสกลนคร (2) เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินในการปลูกเม่าหลวงกับพืชเศรษฐกิจอื่น และ (3) วิเคราะห์ความอ่อนไหวโครงการลงทุนปลูกเม่าหลวง มะม่วงและยางพาราการวิเคราะห์ครั้งนี้ใช้แบบสอบถามประกอบการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกเม่าหลวง มะม่วงและยางพาราอย่างละ 30 ราย ในช่วงอายุการปลูก 1-15 ปี ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เชิงพรรณนาและวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อหาผลตอบแทนทางการเงินของการปลูกพืชทั้งสามชนิดสวนและมีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนของเกษตรกรผู้ปลูกพืชสวนทั้งสามกลุ่มมีค่าใกล้เคียงกัน เกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงและยางพาราส่วนใหญ่ได้ยึดอาชีพการปลูกพืชสวนที่ตนปลูกเป็นอาชีพหลัก ส่วนเกษตรกรผู้ปลูกเม่าหลวงส่วนใหญ่ปลูกเม่าหลวงในลักษณะเป็นอาชีพเสริมสำหรับแหล่งพันธุ์ พื้นที่ปลูก วิธีการปลูกและวิธีการให้น้ำ พบว่ามีความแตกต่างกันตามลักษณะเฉพาะของพืชแต่ละชนิด ด้านแหล่งเงินทุน พบว่าเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงและยางพาราส่วนใหญ่กู้ยืมเงินลงทุนจากสถาบันการเงินของรัฐ ส่วนเกษตรกรผู้ปลูกเม่าหลวงส่วนใหญ่ยังใช้ทุนของตนเองเป็นหลัก ด้านการตลาดและการผลิตเม่าหลวงในเขตจังหวัดสกลนคร ปี 2547 มีผลผลิตเม่าประมาณ 292 ตันผลผลิตส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 80 ได้จากธรรมชาติ ส่วนที่เหลือร้อยละ 20 ได้มาจากการผลิตที่มีลักษณะเป็นสวนเชิงธุรกิจ ผลผลิตที่ได้ถูกใช้บริโภคในครอบครัว จำหน่ายในตลาดท้องถิ่น ส่งโรงงานแปรรูป และส่งตลาดต่างจังหวัดร้อยละ 10 35 33 และ 22 ตามลำดับ นอกจากนี้ การลงทุนปลูกเม่าหลวงขนาดพื้นที่ 1 ไร่ ในช่วงการปลูก 1-15 ปี ให้ผลตอบแทนทางการเงินอยู่ในระดับสูง โดยมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) เท่ากับ 47,132.70 บาท มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนต่อค้นทุน (BCR) เท่ากับ 2.15 และอัตราผลตอบแทนของการลงทุน (IRR) เท่ากับร้อยละ 20.72 ซึ่งผลตอบแทนทางการเงินมีความคุ้มค่าต่อการลงทุนเช่นเดียวกับการผลิตมะม่วงและยางพารา ส่วนผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของการลงทุน พบว่าการลงทุนของการปลูกพืชทั้งสามชนิดมีความอ่อนไหวในด้านรายได้มากกว่าค่าใช้จ่าย ซึ่งพบว่าการปลูกเม่าหลวงมีความเสี่ยงในการลงทุนอยู่ในระดับต่ำสุดเมื่อเปรียบเทียบกับการปลูกมะม่วงและการปลูกยางพาราth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเม่าหลวง--การปลูก--ต้นทุนการผลิตth_TH
dc.subjectพืชเศรษฐกิจ--ไทย--สกลนครth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกเม่าหลวงกับพืชเศรษฐกิจอื่นในเขตจังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeA comparative study of the production cost and benefit between Mao Luang and the other cash crops in Sakon Nakhon provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) determine the general situations of production and marketing of Mao Luang in Sakon Nakhon province, (2) compare the production cost and benefit between Mao Luang and other cash crops, and (3) undertake sensitivity analysis on investments of Moa Luang, mango and para rubber tree plantation. Data was obtained by administering face-to-face interviews with producers of the different crops. The sample size for each group was 30, they were producers who have been engaging in the production of those crops for some periods of time between 1 to 15 years. Information obtained was analyzed by using both descriptive and quantitative analysis. According to the study of the farmers’ socio-economic profiles, it was indicated that there were no significant differences in terms of age, education and experience between each group of the respondents. Farmers who grew mango and para-rubber however were relied on these crops as their main source of income. The respondents who grew Mao Luang however, only relied on the crop as their supplementary income source. The varieties used, production land, the methods of plantation and water usage differed according to each type of crops grown. For source of investment, while most farmers who grew mangoes and Para rubber borrowed the capital for farm management from government’s banks, most farmers who grew Mao Luang relied on their own source of capital. Production output of Mao Luang in 2004 was approximately 292 tons. Almost all of the production (80%) was obtained from natural plantation but the rest (20%) was obtained from trees which were planted for commercial purpose. Of the total output, 10% were consumed by farmers, 35% were sold in the local markets about 33% were processed and 22% were sold in other provinces. The return to investment in Mao Luang in an area of 1 rai during the 1st –15th year was estimated to be high. The NPV, BCR, and IRR were 47,132.70 bath, 2% and 20.72% respectively. The results of the sensitivity analysis also revealed that benefits for all three crops were more sensitive than costs but that among the three, financial risk from an investment in Mao Luang was the lowesten_US
dc.contributor.coadvisorอรพรรณ ศรีเสาวลักษณ์th_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
86350.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons