Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ มีทรัพย์หลาก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบัณฑิตา ณ สงขลา, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-27T08:35:06Z-
dc.date.available2024-02-27T08:35:06Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11620-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างต้นทุนเฉลี่ย ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนรวมและปริมาณการให้สินเชื่อ และการประหยัดต่อขนาดของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย นำมาเปรียบเทียบกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรโดยใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องแบบอนุกรมเวลาระหว่างปี 2535-2545 ในการศึกษาต้นทุนเฉลี่ยการให้สินเชื่อ ต่อการให้สินเชื่อ 100 บาท จากผลการดำเนินงาน พบว่าธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย มีต้นทุนเฉลี่ย 2.92 บาทประกอบด้วย ต้นทุนเงินทุน 0.87 บาท ต้นทุนดำเนินงาน 1.11 บาท ต้นทุนหนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 0.94 บาท ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มีต้นทุนเฉลี่ย 10.38 บาท ประกอบด้วย ต้นทุนเงินทุน 6.40 บาท ต้นทุนดำเนินงาน 2.90 บาท ต้นทุนหนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1.08 บาท การวิเคราะห์ใช้ทั้งแบบเชิงปริมาณและเชิงพรรณนา โดยอาศัยแบบจำลองถดถอยเพื่อหาสมการต้นทุนการให้สินเชื่อนำมาอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนรวมกับปริมาณสินเชื่อ และหาช่วงการประหยัดต่อขนาดซึ่งจากผลวิเคราะห์สมการถดถอย พบว่า ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนรวมกับปริมาณสินเชื่อของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นแบบสมการถดถอยกำลังสามโดยมีค่า R2 = 0.991 และ 0.980 ตามลำดับ สอดคล้องกับเส้นต้นทุนตามทฤษฎี ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า ต้นทุนการให้สินเชื่อจะอยู่ในระดับสูงเมื่อปริมาณสินเชื่อต่ำ และเมื่อปริมาณสินเชื่อเพิ่มขึ้น ต้นทุนดังกล่าวจะลดลง แต่หากปริมาณสินเชื่อเกินระดับที่เหมาะสมแล้ว ต้นทุนการให้สินเชื่อจะกลับเพิ่มขึ้นอีกครั้งสำหรับการประหยัดต่อขนาด พบว่า ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย มีช่วงที่เกิดการประหยัดต่อขนาดเท่ากับช่วงปริมาณสินเชื่อ 17,555 ล้านบาท "น้อยกว่า" ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ที่มีค่าเท่ากับ 287,495 ล้านบาท และการประหยัดต่อขนาดมากที่สุดของทั้งสองธนาคาร (ต้นทุนเฉลี่ยต่ำสุด) มีค่าเท่ากับ 108.59 บาท และ 381.84 บาท (ต่อปริมาณสินเชื่อ 1 พันบาท) ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)th_TH
dc.subjectสินเชื่อth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์การลงทุนth_TH
dc.titleการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบต้นทุนการให้สินเชื่อของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรth_TH
dc.title.alternativeA comparative cost analysis of credit provided by small and medium enterprise development bank of Thailand with bank for agriculture and agricultural cooperativesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the structure of the average lending cost, the relationship between the total lending costs and the amount of loan and economies of scale of the Small and Medium Enterprise in the Development Bank of Thailand. These were compared with the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives. The study was conducted by using the time series data during 1992 - 2002. Findings from the study of operating result were that the average lending cost per 100 baht of loan of Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand included the average cost of 2.92 baht, the cost of fund was 0.87 baht, the cost of transaction was 1.11 baht and the cost of bad debts was 0.94 baht. And the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives had the average cost of 10.38 baht, the cost of fund was 6.40 baht, the cost of transaction was 2.90 baht and the cost of bad debts was 1.08 baht. Both quantitative and descriptive analyses were employed. Regression method had been used for estimating the lending cost equation, explaining the relationship between the total lending costs and the amount of loan and finding the range of economies of scale. The result showed that the estimated total lending cost function had a cubic curve by the Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand and the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives which R²=0.991 and 0.980 respectively. It was found that the estimate total lending cost function was similar to what the theory suggested .The total lending costs were high when the amount of loan was low. As the amount of loan increased, the total lending cost decreased. However, when the amount of loan was over optimum level, the total lending cost would become increasing again. In part of the economies of scale estimation, the Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand had the lending of 17,555 million bath that was less than the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives which had 287,495 million bath. The minimized average lending costs were 108.59 baht and 381.84 baht (per a thousand loan) respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
87499.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons