Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11621
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สัจจา บรรจงศิริ | th_TH |
dc.contributor.author | เณริน รูปแก้ว, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-28T02:16:05Z | - |
dc.date.available | 2024-02-28T02:16:05Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11621 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการทรัพยากรเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและสภาพเศรษฐกิจของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนบ้านโพนขวาว 2) สภาพการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชนบ้านโพนขวาว 3) สภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนบ้านโพนขวาว 4) สภาพการกระจายเมล็ดพันธุ์และการตลาดของศูนย์ข้าวชุมชนบ้านโพนขวาวและ 5) ปัญหาและแนวทางการพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชนบ้านโพนขวาว ผลการวิจัยพบว่า 1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุมากกว่า 55 ปี สถานภาพสมรส เป็นหัวหน้าครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน จบประถมศึกษา เป็นสมาชิกมาแล้ว 11-15 ปี เหตุผล คือ ต้องการมีเมล็ดพันธุ์ราคาถูก ได้รับความรู้และข่าวสาร รวมกันซื้อปัจจัยการผลิต สะสมทุนและสวัสดิการ สภาพพื้นที่เป็นที่ดอน นาน้ำฝนมีพื้นที่ถือครองมากกว่า 20 ไร่ ใช้ผลิตเมล็ดพันธุ์ 1-5 ไร่ มีแรงงาน 1-2 คน ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ผลผลิต 500 -1,000 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ระหว่าง 25,001-50,000 บาทต่อปี หนี้สินมากกว่า 100,000 บาท ต้นทุนการผลิต 2,001-3,000 บาทต่อไร่ 2) สภาพการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชน ในด้านสมาชิก กรรมการ การคัดเลือกคณะกรรมการ การบริหารงานและการประสานงานเครือข่าย โดยภาพรวมสมาชิกมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง 3) สภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ ในด้านการจัดการแปลงนา เครื่องมือ ปัจจัยการผลิต การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ การเตรียมดิน ปลูก ดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การลดความชื้น การเก็บรักษา การตรวจสอบคุณภาพ การบันทึกข้อมูลการปฏิบัติโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 4) การกระจายเมล็ดพันธุ์ มีการกำหนดเป้าหมาย คุณภาพและปริมาณไม่เพียงพอ มีการประชาสัมพันธ์ การขายมีหลายวิธี การตลาดไม่มีกรรมการฝ่ายและไม่มีอำนาจต่อรองราคา 5) ปัญหาที่พบ ได้แก่ ด้านการผลิต ด้านทุน ด้านการดำเนินงานและการบริหารจัดการศูนย์ๆ ด้านการตลาดการกระจายเมล็ดพันธุ์ โดยมีแนวทางการพัฒนา คือ การสร้างเครือข่ายการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว การเพิ่มหลักสูตรการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ การจัดกิจกรรมเชื่อมโยงการตลาด การเข้าร่วมเครือข่ายนาแปลงใหญ่ การจัดตั้งกองทุนถั่วใช้ปรับปรุงบำรุงดิน การอบรมเรื่องการบริหารจัดการกลุ่ม การขอสนับสนุนงบประมาณขุดสระน้ำขนาดเล็กในไร่นา การแต่งตั้งกรรมการดำเนินงานให้ครบทุกด้าน การศึกษาดูงานศูนย์ข้าวชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ และการประชาสัมพันธ์ศูนย์ข้าวชุมชนให้เป็นที่รู้จัก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านโพนขวาว--การบริหาร | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชนบ้านโพนขวาว ตำบลจิกดู่ อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for Ban Phonkhwaow Community Rice Center Development, Chik Du Sub-district, Hua Taphan District, Amnat Charoen Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study, 1) social and economic conditions of the members of the community rice center in Ban Phon Khwao, 2) operating condition of the Ban Phon Khwao Community Rice Center; 3) conditions of seed production by the members of Ban Phon Khwao Rice Center; 4) conditions of seed distribution and marketing of Ban Phon Khao Community Rice Center; and 5) problems and guidelines for the development of Ban Phon Khao Community Rice Center. The research model was mixed methods research. Data were collected from the total population of 23 community rice center members. Quantitative data were gathered through interviews and analyzed using descriptive statistics, while qualitative data were collected using group meetings and analyzed using content analysis. The results of the research showed that 1) Most of the members were male, aged over 55 years old, married, heads of their household, with 3-4 household members, and most of them completed primary school. Most had been a member for 11-15 years. Their reasons for membership were to have cheap seeds, to get knowledge and news, to combine purchasing power for factors of production, and to collect capital and welfare. The area is upland and relies on rainwater. The main occupation is farming with average holding area of more than 20 rai, of which 1-5 rai was used to produce seeds with 1-2 workers. They produced Khow Hom Mali 105 variety rice seeds averaging 500-1,000 kg per rai. On average their total income was between 25,001-50,000 baht per year, with total liabilities over 100,000 baht, and production costs of 2,001-3,000 baht per rai, 2) for the community rice center’s operating conditions most members gave the opinion that its performance in terms of members, directors, selection of committees, administration and network coordination were at a moderate level overall, 3) their opinions of the seed production conditions were that in the aspects of rice field management, tools, production factors, selection of seeds, soil preparation, planting, maintenance, harvesting, dehumidification, storage, quality inspection, and data recording, the overall practice was at a high level, 4) as for seed distribution, community rice center members reported that the center set targets, but quality and quantity were both insufficient. The center used many ways of selling, but there was no marketing director and no bargaining power, 5) problems encountered included production, capital, operations and center management, seed distribution and marketing. The development guidelines include building a rice seed production network, adding rice seed production courses, developing personnel to have knowledge in rice seed production, preparing agricultural development plans for budget support, organizing marketing activities, joining the Big Farming Network, establishing a bean fund for soil improvement, providing training on group management, asking for budgetary support for digging a small pond in the farm, appointing members to operate in all aspects, going on study tours of successful community rice centers, and publicizing the community rice center to be well known. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จรรยา สิงห์คำ | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License