Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชมพูนุท โกสลากร เพิ่มพูนวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประสิทธิ์ มะโนธรรม, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-01T02:32:44Z-
dc.date.available2024-03-01T02:32:44Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11664-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงสัดส่วนรายได้ภาษีอากร 2) รายได้ภาษีสรรพากรของประเทศไทยและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ภาษีสรรพากรกับผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในแต่ละสาขาการผลิตของแต่ละกลุ่มพื้นที่ โดยทำการวิเคราะห์สัดส่วนรายได้ภาษีอากรต่อรายได้รัฐบาลผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ รายได้ภาษีสรรพากรต่อรายได้ภาษีอากร ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในแต่ละกลุ่มพื้นที่ที่จำแนกตามประเภทรายได้ภาษีสรรพากร โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิในช่วงปี 2540 - 2550 ของหน่วยงานกรมสรรพากร สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ งานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณาในการวิเคราะห์สัดส่วน และใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณในการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันเป็นตัววัดค่าและทิศทางความสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สัดส่วนรายได้ภาษีอากรคิดเป็นร้อยละ 88 ของรายได้รัฐบาล เมื่อเทียบสัดส่วนรายได้ภาษีอากรตามหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดเก็บพบว่า ร้อยละ 70 เป็นรายได้มาจากภาษีสรรพากร ร้อยละ 20 มาจากภาษีสรรพสามิต และร้อยละ 10 มาจากภาษีศุลกากร ภาษีที่จัดเก็บได้สูงสุดเป็นอันดับหนึ่งมาจากภาษีมูลค่าเพิ่ม รองลงมาคือภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีปิโตรเลียม และอากรแสตมป์ และพบว่ากลุ่มพื้นที่สรรพากรในเขตกรุงเทพมหานคร มีสัดส่วนรายได้ภาษีสรรพากรรวมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงที่สุด ร้อยละ 22 และต่ำสุดร้อยละ 2 เป็นกลุ่มพื้นที่สรรพากรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า การเปลี่ยนแปลงของรายได้ภาษีสรรพากร มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดและเป็นไปในทางบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับร้อยละ 0.01 โดยสาขาเกษตรกรรม มีความสัมพันธ์สูงในทุกพื้นที่ของกลุ่มจังหวัด รองลงมาคือสาขาการไฟฟ้าประปา ส่วนสาขาที่มีความสัมพันธ์น้อยที่สุดคือสาขาการเงินและการธนาคาร ปัจจัยที่มีความสำคัญที่จะนำมาใช้เพื่อเพิ่มปริมาณการจัดเก็บภาษีสรรพากรคือมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในแต่ละสาขาการผลิต เพราะมีอิทธิพลต่อการจัดเก็บภาษีในแต่ละจังหวัดมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภาษีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษีth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดth_TH
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ภาษีสรรพากรกับผลิตภัณฑ์มวลรวมรวมจังหวัth_TH
dc.title.alternativeA study of relations between tax revenue and gross provincial productsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109996.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons