Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11666
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกพล หนุ่ยศรีth_TH
dc.contributor.authorเอกวลี คณาวงษ์, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-01T02:45:11Z-
dc.date.available2024-03-01T02:45:11Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11666-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพัฒนาการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (2) ศึกษาถึงผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของสมาชิกที่เป็นพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ (3) ศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดอัตราเงินสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของสมาชิกที่เป็นพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ผลการวิจัยพบว่า (1) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีการพัฒนาการที่สูงขึ้นในด้าน จำนวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้น จำนวนเงินกองทุนเพิ่มขึ้น และการลงทุนของบริษัทผู้จัดการกองทุนได้นำเงินไปลงทุนในตลาดเงินเพิ่มขึ้น (2) ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของสมาชิกที่เป็นพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มากกว่าผลตอบแทนจากการลงทุนด้วยตนเอง โดยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจะมีมูลค่าเงินในอนาคต (future value) มากกว่าการลงทุนด้วยตนเองโดยการฝากเงินประเภทเงินฝากประจำกับธนาคารพาณิชย์ และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดอัตราเงินสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของสมาชิกที่เป็นพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้แก่ อายุ อายุงาน การศึกษา ปัจจัยเหล่านี้มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการกำหนดอัตราสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ แต่อัตราพึ่งพิงมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับการกำหนดอัตราสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดยที่ตัวแปรอายุในเขต 1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการกำหนดอัตราสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในขณะที่ เขต 3 ภาคใต้มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนตัวแปรอายุงาน ในสำนักงานใหญ่ และ เขต 1 ภาคเหนือ, เขต 2 ภาคเหนือ, เขต 2และ เขต 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, เขต 1 ภาคกลาง มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการกำหนดอัตราสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในขณะที่ เขต 3 ภาคกลาง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ ตัวแปรการศึกษา ในสำนักงานใหญ่ ความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการกำหนดอัตราสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในขณะที่เขต 3 ภาคเหนือมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับอัตราพึ่งพิงในเขต 3 ภาคกลางมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับการกำหนดอัตราสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกองทุนสำรองเลี้ยงชีพth_TH
dc.subjectเงินสะสมth_TH
dc.titleผลตอบแทนและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดอัตราเงินสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของสมาชิกที่เป็นพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคth_TH
dc.title.alternativeBenefits and factors influencing on accumulative money rate determination in the provident fund among the Provincial Electricity Authority Employeesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.contributor.coadvisorปรัชญ์ ปราบปรปักษ์th_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109999.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons