Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธานินทร์ เอ่งฉ้วน, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-03-11T07:44:38Z-
dc.date.available2024-03-11T07:44:38Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11719-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน (2) วิเคราะห์ระดับความสำคัญของปัจจัยทัศนคติด้านการออม (3) เปรียบเทียบระดับความสำคัญปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ และ (4) ศึกษาอิทธิพลปัจจัยด้านทัศนคติด้านการออมต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวาย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวาย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของคอแครนได้จำนวน 390 คน สุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความสําคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุนโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยลำดับแรกคือ ด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านราคา และด้านช่องทางการจัดจําหน่าย ตามลำดับ (2) ระดับความสําคัญของปัจจัยทัศนคติด้านการออมโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ลำดับแรกคือด้านความรู้สึก รองลงมาคือด้านความรู้ความเข้าใจ และด้านพฤติกรรม ตามลำดับ (3) ผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวายในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีเพศ สถานภาพสมรสระดับการศีกษาและอาชีพต่างกันมีความคิดเห็นต่อระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) ปัจจัยทัศนคติด้านการออมมีอิทธิพลเชิงบวกต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน โดยสามารถร่วมกันทำนายได้ ร้อยละ 31.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการออมกับการลงทุนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการธุรกิจและการบริการth_TH
dc.titleอิทธิพลทัศนคติด้านการออมที่มีผลต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุนในกลุ่มผู้บริโภคเจเนเรชั่นวายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeThe influence of saving attitude on marketing mix of insurance investment plan among Generation Y consumer in Bangkok Metropolitan Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจและบริการ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were : (1) to analyze the marketing mix factors used to sell insurance investment plans of Generation Y consumers in Bangkok Metropolitan Region; (2) to analyze the attitudes towards saving of Generation Y consumers in Bangkok Metropolitan Region; (3) to compare the important level of marketing mix factors towards insurance investment plans’ classified by demographic characteristics; and (4) to investigate how Generation Y consumers' attitudes towards saving influence the marketing mix components employed to sell insurance investment plans in the Bangkok Metropolitan Region. This was a survey study. The research population for the research was Generation Y consumers in the Bangkok Metropolitan Region, the exact size of which is unknown. Using W.G. Cochran's calculation, the optimum sampling size was determined to be 390 respondents. Samples were selected by convenience sampling method. The research tools were questionnaires. Descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation, were used to analyze the data. An independent sample t-test, one-way ANOVA, and Multiple Regression Analysis were used to test hypotheses. Research findings were as follows: (1) Overall, consumers’ opinions on the importance of marketing mix factors were on a highly positive level. Considering each aspect, the majority of survey responders put the first priority on the product, followed by promotion, price, and distribution channels, respectively. (2) Overall, Consumers' saving attitudes were overwhelmingly positive. The affective component received the most attention, followed by the cognitive and behavioral components in that order. (3) When Generation Y consumers in Bangkok Metropolitan Region were compared based on demographic characteristics, it showed that samples with different sex, marital status, level of education, and occupation had statistically significant differences in their opinions about the marketing mix factors towards insurance investment plans at level 0.05. ()At the level of statistical significance of 0.05, saving attitudes towards insurance investment plans' marketing mix factors were positively affected, and when taken collectively, could predict . percent of consumers' opinions toward insurance investment plans' marketing mix factorsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons