Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11728
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพิ่มเกียรติ กาวิลาวัน, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-03-14T05:14:33Z-
dc.date.available2024-03-14T05:14:33Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11728-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการยอมรับเทคโนโลยีในการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านสมาร์ทโฟน 2) พฤติกรรมการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านสมาร์ทโฟน และ 3) ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านสมาร์ทโฟนของผู้ใช้บริการ ในพื้นที่อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จําแนกตามปัจจัยประชากรศาสตร์และการยอมรับเทคโนโลยี การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ผู้ที่เคยใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านสมาร์ทโฟนของผู้ใช้บริการ ในเขตอำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ประชากร ไม่ทราบจํานวน วิธีกำหนดขนาดตัวอย่างใช้สูตรของวิลเลียม เจมเมลล์ โคชราน จึงได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 400 คน การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 20 - 30 ปี ศึกษาในระดับปริญญาตรีขึ้นไป และมีรายได้ 10,001 - 15,000 บาท โดยมี (1) การยอมรับเทคโนโลยีในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (2) พฤติกรรมการใช้บริการ ส่วนใหญ่ใช้บริการนําระค่าสินค้าอุปโภคบริโภค สถานที่ใช้แอพพลิเคชั่น คือ ที่บ้าน ความถี่ในการใช้บริการอยู่ระหว่าง 2-3 ครั้งต่อวัน ช่วงเวลาที่ใช้บริการอยู่ระหว่างเวลา 06.00 - 12.00 น. และใช้เงินในการชำระต่อครั้งต่ำกว่า 500 บาท และ (3) ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านสมาร์ทโฟน กับปัจจัยประชากรศาสตร์ พบว่า อายุ และอาชีพ มีความสัมพันธ์กับลักษณะการใช้บริการ สถานที่ ความถี่ ช่วงเวลา และจํานวนเงินในระดับสูงมาก โดยมีระดับความเชื่อมั่น อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วนพฤติกรรมการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านสมาร์ทโฟน กับปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยี พบว่า ด้านการรับรู้และเข้าใจประโยชน์จากการใช้งาน ด้านการรับรู้และเข้าใจความง่ายต่อการใช้งาน มีความสัมพันธ์กับความถี่ และจำนวนเงินในระดับสูง โดยมีระดับความเชื่อมั่น อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านสมาร์ทโฟนของผู้ใช้บริการ ในพื้นที่อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to consumer behavior of electronic payment using smartphones in Muang Chiang Rai District Area Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were 1) to investigate the technology acceptance in electronic payment using smartphones; 2) to study behavior of electronic payment using smartphones; and 3) to study the Relating to Consumer Behavior of Electronic Payment Using Smartphones In Muang Chiang Rai District Area Chiang Rai Province, classified by demographic factors and technology acceptance. This study was a survey research. The population was people with prior experience to use smartphones for electronic payment in Muang Chiang Rai District Chiang Rai Province. The sample size was determined based on the unknown population to be 400 people and it was calculated according to the formula of W.G. Cochran. The sample was selected by accidental sampling. Data were analyzed using statistics, including frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-square statistics. The results of this study indicated that most of the sample were female, aged 26-30 years, graduated with the bachelor's degree or higher, earned monthly income between 10,001 - 15,000 baht. In addition, the results showed that (1) The technology acceptance for both overall and individual aspects was at a high level, (2) In terms of behavior of electronic payment using smartphones, most of the sample made electronic payment using smartphones to pay for consumer goods/consumables. The place to use the application was at home. The frequency of electronic payment using smartphones was between 2-3 times a day. The period of electronic payment using smartphones was between 6:00 hrs. and 12:00 hrs. and the amount used for each payment was less than 500 baht, and (3) the relationship between behavior of electronic payment using smartphones revealed that demographic factors, including age and occupation were highly related with service usage characteristics, location, frequency, time period and amount of payment with a statistical significance level of 0.05. In terms of the relationship between behavior of electronic payment using smartphones and technology acceptance factors, it was found that the perceived benefits and perceived ease-of-use were highly related with frequency and amount of payment with a statistical significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons