Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11733
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิศาล มุกดารัศมี | th_TH |
dc.contributor.author | กาลฎา สุนทร, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-14T06:25:09Z | - |
dc.date.available | 2024-03-14T06:25:09Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11733 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เพื่อศึกษาบทบาททุนทางสังคมในการส่งเสริมความมั่นคงของ 3 หมู่บ้านชายแดนไทย-กัมพูชา (2) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคและเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา ของทุนทางสังคมในการส่งเสริมความมั่นคงของ 3 หมู่บ้านชายแดนไทย-กัมพูชา การศึกษา เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ เลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยแบบเจาะจง ประชากรวิจัย 6 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มทหาร (2) กลุ่มกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน (3) กลุ่มปราชญ์ชาวบ้าน (4) กลุ่มประชากรในพื้นที่ (5) ครูในพื้นที่ และ (6) กลุ่มผู้นำทางศาสนา โดยใช้เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ การสัมภาษณ์แบบการพูดคุย การบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกข้อมูล เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ทุนทางสังคมของทั้ง 3 หมู่บ้านชายแดนไทย-กัมพูชา ได้แก่ความไว้วางใจ การเกื้อกูลกัน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้นำทางปัญญา เป็นโครงสร้างความสัมพันธ์แนวราบ และกลุ่มองค์กรเครือข่าย มีบทบาทต่อการแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงในชุมชน โดยช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีทั้งระหว่างคนในชุมชนด้วยกัน และระหว่างคนในชุมชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งส่งผลให้คนในชุมชนเกิดความไว้วางใจ ช่วยเหลือกัน มีความรักความสามัคคีต่อกัน ร่วมกันทํากิจกรรมของส่วนรวมให้สําเร็จอย่างพร้องเพรียง และมีความเชื่อมั่นในตัวผู้นำชุมชน รวมทั้งบุคลากรของหน่วยงานที่เข้ามามีบทบาทในการช่วยแก้ไขปัญหา ส่วนปัญหาอุปสรรค และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชุมชน ทําให้ชุมชนเกิดความมั่นคง และสามารถพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งได้ต่อไป อย่างไรก็ตาม หากจะทำให้ชุมชนมีความมั่นคงอย่างยั่งยืนนั้น การรักษาความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชน และความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้คงไว้อย่างเหนียวแน่นได้ ท่ามกลางสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือกันจากคนในชุมชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่นเมื่อมีนโยบายหรือแนวทางที่ส่งเสริมความมั่นคงในชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องสามารถให้ข้อมูลที่ครบถ้วน และทั่วถึงแก่คนในชุมชน รวมทั้งสามารถสร้างความเข้าใจ และความเชื่อมั่นในนโยบายหรือแนวทางที่นำเสนอต่อชุมชนได้เพราะหากคนในชุมชนเกิดความเชื่อมั่นในนโยบายหรือแนวทางที่นําเสนอก็จะให้ความร่วมมือในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความมั่นคงอย่างยั่งยืนได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ทุนทางสังคม | th_TH |
dc.subject | ความมั่นคงชายแดน--ไทย--จันทบุรี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.title | ทุนทางสังคมกับการแก้ปัญหาด้านความมั่นคงบริเวณชายแดน : กรณีศึกษา 3 หมู่บ้านชายแดน ตำบลสะตอน อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Social capital for border security problem-solving : a case study of 3 border villages between Thailand and Cambodia. Saton Sub-district, Soi Dao District, Chanthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research are to: (1) study role of social capital in security promotion of three villages located at Thai-Cambodia border; (2) study problems and obstacles as well as propose problem solutions of social capital in security promotion of three villages located at Thai-Cambodia border. This research is a quantitative study. The sample group is selected purposively. The research population is divided into six groups: (1) military; (2) sub-district headman and village headman; (3) local philosophers; (4) local population; (5) local teachers; and (6) religious leaders. The research tools including interview, voice record and note taking are used for compiling data and data analysis. The findings prove that social capital of three villages located at Thai-Cambodia border comprises of trust / support, local wisdom and local philosophers. It is a horizontal structure of relationships. The organization network plays a role in solving problems relevant to security in community. They promote good relationship among villagers and also villagers with relevant agencies, resulting in trust, cooperation and unity. The villagers join activities and feel confident in community leaders and staff of agencies relevant to problem solving. The solution proposal enables community security and community development. To develop community sustainably, it is significant to maintain good relationship among villages and villagers with relevant agencies amidst rapid changing society. It needs cooperation from villagers and relevant agencies. For example, relevant agencies have to provide complete information about security policies or guidelines and make understanding and confidence in policies or guidelines proposed to communities. If villagers have confidence in policies or guidelines, they will cooperate with agencies to implement such policies or guidelines and eventually leading to sustainable security. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License