Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1174
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณภา โพธิ์น้อย | th_TH |
dc.contributor.author | รัตนะ สะอาด, 2503- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-27T07:58:09Z | - |
dc.date.available | 2022-08-27T07:58:09Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1174 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (คศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพึ๋อ (1) ศึกษาข้อมูลพึ๋นฐานของผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรี (2) ศึกษาการรับรู้ด้านสุขภาพของผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรี (3) ศึกษาพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรี (4) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลพึ้นฐานของผู้นำครอบครัวกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรี และ (5) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรี จำนวน 400 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้นำครอบครัวส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 55.8) อาชีพเกษตรกรรม (ร้อยละ 41.5) รายได้เฉลี่ย 5,001-10,000 บาทต่อเดือน (ร้อยละ 43.7) เป็นครอบครัวเดี่ยว (ร้อยละ71.8) (2) ผู้นำครอบครัวมีการรับรู้ด้านสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก (X =3.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้นำครอบครัวมีการรับรู้ความรุนแรงของโรคอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =3.50) และมีการรับรู้อุปสรรคของตนเองด้านพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพอยู่ในระดับนัอย (X =1.99) (3) ผู้นำครอบครัวมี พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพด้านบวกได้แก่ ด้านการออกกำลังกาย ด้านอาหารปลอดภัย ด้านอารมณ์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และด้านอโรคยา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X =2.89) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพทางบวก พบว่า ผู้นำครอบครัวมีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดลัอม ด้านอารมณ์ ด้านอโรคยา และด้านอาหารปลอดภัย อยู่ในระดับมาก (X = 3.37,3.08,2.86 และ 2.78 ตามลำดับ) ส่วนพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพด้านการออกกำลังกายอยู่ในระดับน้อย ( X = 2.39) ส่วนพฤติกรรมด้านลบ คือ อบายมุข ผู้นำครอบครัวมีพฤติกรรมอยู่ในระดับน้อย (X =1.59) (4) ระดับการศึกษาของผู้นำครอบครัวมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (5) การรับรู้ด้านสุขภาพของผู้นำครอบครัวมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.352 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | ครอบครัว--สุขภาพและอนามัย | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ของผู้นำครอบครัวในจังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Relationships between health perception and health-promoting behaviors of family leaders in Chanthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.352 | - |
dc.degree.name | คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: (i) to study basic information of family leaders in Chanthaburi province, (2) to study health perception of family leaders in Chanthaburi province, (3) to study health-promoting behaviors of family leaders in Chanthaburi province, (4) to analyze relationships between basic information of family leaders and health-promoting behaviors of family leaders in Chanthaburi province, and (5) to analyze relationships between health perception and health-promoting behaviors of family leaders in Chanthaburi province. The research samples were 400 family leaders in Chanthaburi province, who were selected by multi-stages random sampling and simple random sampling techniques. Instruments used for data collection were questionnaires. Data were analyzed using computer program Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and the chi-square test. The research findings were as follows: (1) The majority of the samples had primary education (55.8%), worked as farmers (41.5%), earned average incomes 5,001-10,000 bath a month (43.7%), came from nuclear family (71.8%), (2) Overall, the health perception of family leaders were at the high level (X “3.05). When considering each aspects of health perception, it was found that perceived seriousness of disease were at the highest level, whereas perceived barriers to health-promoting behaviors were at the low level (X =1.99), (3) Overall, the family leaders' positive health- promoting behaviors namely, exercises, food safety, emotion, environmental health, and disease reduction were at the high level ( X =2.89), while negative health-promoting behaviors, non-narcotic and drug addicted, were at the low level ( X = 1.59). When considering each aspects of positive health-promoting behaviors, it was found that the family leaders’ health-promoting behaviors which were at the high level were environmental health, emotion, disease reduction, and food safety (X = 3.37,3.08,2.86 and 2.78 respectively), while exercise was at the low level ( X =2.39), (4) the educational level of family leaders was related to health- promoting behaviors of family leaders in Chanthaburi province al the 0.5 level of statistically significance, and (5) the health perception of family leaders was related to health-promoting behaviors of family leaders in Chanthaburi province at the 0.5 level of statistically significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุจิตรา หังสพฤกษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Hum-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext 97454.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License