Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11753
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาดา ตั้งทางธรรม | th_TH |
dc.contributor.author | อภิภูภ์ ชนะวาที, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-15T07:13:36Z | - |
dc.date.available | 2024-03-15T07:13:36Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11753 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อต้นทุนการผลิตข้าว 2) วิเคราะห์อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนการผลิตข้าว 3) ประเมินผลกระทบของโครงการ และ 4) ศึกษาปัญหาการผลิตข้าวและการดำเนินโครงการ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 87 ครัวเรือน ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ และร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยที่มีผลต่อต้นทุนการผลิตที่สำคัญ คือ ต้นทุนค่าเสียโอกาส ต้นทุนการดำเนินงาน และต้นทุนคงที่ 2) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร์สำหรับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการประกันรายได้เกษตรกรในปีการผลิต 2552/2553 มีค่าเท่ากับ 1.11 และ 0.59 ขณะที่อัตราส่วนดังกล่าวสำหรับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการรับจำนำข้าวในปีการผลิต 2553/2554 มีค่าเท่ากับ 1.49 และ 0.73 และปีการผลิต 2554/2555 มีค่าเท่ากับ 1.56 และ 0.78 ตามลำดับ3) โครงการประกันรายได้เกษตรกรไม่มีผลเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตโดยรวมของครัวเรือนส่วนใหญ่ส่วนโครงการรับจำนำข้าวส่งผลให้ครัวเรือนส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ขณะที่บางครัวเรือนมีภาระหนี้สินเพิ่มขึ้น โครงการประกันรายได้เกษตรกรมีการทุจริตส่งผลให้รัฐสูญเสียงบประมาณ 983,439 บาทส่วนโครงการรับจำนำข้าวก็เช่นกันส่งผลให้รัฐสูญเสียงบประมาณ 1,018,720 บาท 4) ปัญหาการผลิตข้าวคือต้นทุนการผลิตสูง ส่วนปัญหาการดำเนินโครงการคือความล่าช้าในการจ่ายเงิน ความไม่เป็นธรรมในการเข้าร่วมโครงการ การแจ้งพื้นที่เป็นเท็จ และการสวมสิทธิ์จำนำข้าว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.82 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | โครงการประกันรายได้เกษตรกร. | th_TH |
dc.subject | โครงการรับจำนำข้าวเปลือก | th_TH |
dc.title | การเปรียบเทียบผลของโครงการประกันรายได้เกษตรกรกับโครงการรับจำนำข้าว กรณีศึกษาหมู่บ้านนาชุมชน ตำบลทรายมูล อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Comparison of the farmers' income guarantee scheme and the rice pledging scheme : a case study of Nachumchon Village, Saimoon Sub-district, Phibun Mangsahan District, Ubon Ratchathani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.82 | - |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to: 1) study factors that affect costs of rice production, 2) analyze the benefit cost ratios of rice production, 3) evaluate the results of the schemes, and 4) study the problems of rice production and scheme implementation. A population consisted of 87 farm households. Questionnaire were used as the tools to collect primary data. Frequency and percentage were employed as statistics in the study. The results were as follows: 1) major factors affecting costs of rice production were opportunity costs, operating costs, and fixed costs; 2) financial and economic benefit cost ratios for farmers participating in income guarantee scheme in production year 2552/2553 were 1.11 and 0.59, while the same ratios for farmers participating in rice pledging scheme in production year 2553/2554 were 1.49 and 0.73 and in production year 2554/2555 were 1.56 and 0.78 respectively; 3) the income guarantee scheme did not have an impact on quality of life for most households while the rice pledging scheme gave rise to a better quality of life for most households but also caused debt burden on some households, malfeasance in the income guarantee scheme and the rice pledging scheme resulted in the government budget loss 983,439 baht and 1,018,720 baht respectively; 4) the problem of rice production was high production costs while the problems of scheme implementation were the government delayed payments, unfair participation in the schemes, false reports on agricultural lands, and claims used by others to participate in the rice pledging scheme | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ระวีวรรณ มาลัยวรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
138797.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License