Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11770
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ขจรศักดิ์ สิทธิ | th_TH |
dc.contributor.author | สุนิดา ตีระพิพัฒนกุล, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-22T02:02:04Z | - |
dc.date.available | 2024-03-22T02:02:04Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11770 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความสัมพันธ์ของระบบอุปถัมภ์ที่มีอิทธิพลต่อการเลือกตั้งท้องถิ่น ในพื้นที่เทศบาลตำบลบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการชนะการเลือกตั้งท้องถิ่น ในพื้นที่เทศบาลตำบลบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ (3) ผลกระทบของระบบอุปถัมภ์ในการเมืองท้องถิ่น ในพื้นที่เทศบาลตำบลบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารประกอบกับการสัมภาษณ์ เลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลบางบ่อ เป็นกลุ่มนักการเมืองท้องถิ่น เช่น นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี และสมาชิกสภาเทศบาล จำนวน 5 คน และกลุ่มผู้นำชุมชนที่เป็นประธานชุมชน จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์และทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสัมพันธ์ของระบบอุปถัมภ์ในพื้นที่เทศบาลตำบลบางบ่อ มีลักษณะการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยเกื้อกูลระหว่างกันที่มีแบบแผนมาจากวิถี ประเพณีและค่านิยมในการปฏิบัติทางสังคมมาเป็นบรรทัฐานการรองรับในการทำงานเพื่อเป็นการตอบสนองต่อความต้องการและความพึงพอใจซึ่งสามารถที่จะตอบแทนคืนกลับมาในรูปของ คะแนนเสียงจากชาวบ้าน (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการชนะการเลือกตั้งท้องถิ่น ในพื้นที่เทศบาลตำบลบางบ่อ มีการช่วยเหลือเอื้อเฟื้อกัน ระหว่างความเป็นเพื่อน ความเป็นญาติ ความเป็นพวกพ้อง โดยนักการเมืองท้องถิ่น มีการหาเสียงเริ่มจากครอบครัวญาติพี่น้อง แล้วจึงนำไปสู่เพื่อน พวกพ้อง และการหาหัวคะแนน ที่มีตำแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้าน หรือกำนันช่วยกันหาเสียงแบบลูกโซ่ มีการให้ช่วยกันลงคะแนนเสียงเนื่องจากความสัมพันธ์ใกล้ชิด (3) ผลกระทบของระบบอุปถัมภ์ในการเมืองท้องถิ่น คือ การบริหารงานของผู้บริหารท้องถิ่นที่กระจายความช่วยเหลือและดำเนินโครงการแบบแบ่งฝักฝ่าย เอื้อประโยชน์แก่พวกพ้องก่อน และการแทรกแซงทางการเมืองระดับท้องถิ่นของนักการเมืองระดับชาติก่อให้เกิดลักษณะของความสัมพันธ์ที่แฝงไว้ด้วยระบบอุปถัมภ์บารมี ผลประโยชน์ทางการเมือง อำนาจ และผลประโยชน์ทางการเงิน ที่ต่างฝ่ายต่างแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ต่อกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การเลือกตั้งท้องถิ่น--ไทย--สมุทรปราการ | th_TH |
dc.subject | กลุ่มอิทธิพล | th_TH |
dc.subject | ระบบอุปถัมภ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกตั้งท้องถิ่นกับระบบอุปถัมภ์ในการเมืองท้องถิ่นในพื้นที่เทศบาลตำบลบางบ่อ อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.title.alternative | Local election and patronage system in Bangbo Subdistrict Municipality of Samutprakan Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the relationship of patronage system influencing on local elections in Bangbo Subdistrict Municipality, Samutprakan Province, (2)to investigate factors influencing local election victory in Bangbo Subdistrict Municipality, Samutprakan Province, and (3) to identify impacts of the patronage system on local politics in Bangbo Subdistrict Municipality, Samutprakan Province. This study was qualitative research with documented studies and in-depth interviews. The purposive samples were local political groups in Bangbo Subdistrict Municipality such as the mayor, the deputy mayor and members of the municipal council (5 people) and community leaders (5 people). There were 10 people in total. The research tool was the interview forms, and then the data was analyzed by descriptive analysis. The research found that (1) the relationship of the patronage system in the Bangbo Subdistrict Municipality was based on mutual assistance, which was a pattern from the way of life, traditions and values in social practice as the working pattern. As a result of the satisfaction that could be expressed through votes from the locals. (2) The factors influencing local election victory in Bangbo Subdistrict Municipality were as follows: generosity between friendship and kinship. Local politicians' campaigns start with family, relatives, friends and election campaigners who were headmen or village headmen help in a chain campaign. Voting was given due to their close relationship. (3) The patronage system has had an impact on local politics in the following ways: the administration of local administrators distributes aid, implements projects in an unfair manner, prioritizes benefits for close relationships, and the local political intervention by national politicians results in a patronage system. They exchanged benefits with each other in the term of prestige, political interests, power, and financial interests. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
169373.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License