Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1178
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนีกร โชติชัยสถิตย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณา รัชตะไพบูลย์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T08:15:11Z-
dc.date.available2022-08-27T08:15:11Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1178-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม.(การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มืวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ของสมาชิกในครอบครัว และผู้ป่วยกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ของผู้ป่วยต่อ พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวต่อการดูแลผู้ป่วยกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและสมาชิกในครอบครัวผู้ป่วย ในจังหวัด สมุทรปราการ ซึ่งได้รับการรักษาโรคความดันโลหิตสูงมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับความรู้ความเข้าใจการดูแลตนเองและการมีส่วน ร่วมในการดูแลผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 3 ชุด โดยมีค่าความเที่ยงตรง 0.6552,0.6764 และ 0.9051 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยและ สมาชิกในครอบครัว สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วย (2) การรับรู้ของ ผู้ป่วยต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวต่อการดูแลผู้ป่วย สัมพันธ์กับพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้ยังพบว่า อายุ ระยะเวลาที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ความสัมพันธ์ของญาติกับผู้ป่วย รายได้เฉลี่ย ระดับ การศึกษา การอาศัยอยู่ในบ้านเดียวกันของผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัว สัมพันธ์กับพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.329-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความดันเลือดสูง--ผู้ป่วย--การดูแลth_TH
dc.subjectความสัมพันธ์ในครอบครัวth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้ของผู้ป่วยต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวต่อการดูแลผู้ป่วย กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between family members' and hypertension patients' knowledge and understanding of hypertension and the latter's awareness of family members' participative behaviors towards taking care of them and their self-healthcare behaviorsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.329-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study relationships between patients’ and family members’ knowledge and understanding of hypertension and hypertension patients’ self - healthcare behavior; and (2) to study relationships between patients’ awareness of family members’ participative behaviors towards taking care of patients and hypertension patients’ self - healthcare behaviors. The samples were 400 hypertension patients and care givers in Samuthprakan province, who were diagnosed with hypertension for more than 1 year. The instrument for the study were questionnaires on hypertension knowledge, hypertension patients’ self health care behavior and family members’ participation of taking care. Questionnaire’s reliability were 0.6552,0.6765 and 0.9051. Data were analyzed by using percent, mean and Pearson’s correlation coefficient. The findings were as follows (1) the patients’ and family members’ knowledge and understanding of hypertension were related to patients’ self - healthcare behaviors ; and (2) patients’ awareness of family members’ participative behaviors towards taking care of patients were related to hypertension patients’ self - healthcare behaviors at 0.05 level of statistical significance. In addition, age, duration of hypertension, patients and family members’ relationship, average income, level of education, living in the same house were related to patients’ self - healthcare behaviorsen_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 97455.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons