Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11792
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้าth_TH
dc.contributor.authorรติภัทร พานดวงแก้ว, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-03-29T03:04:47Z-
dc.date.available2024-03-29T03:04:47Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11792en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวความคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับพยานและการคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญา อันจะทำให้เข้าใจและพิจารณาเห็นถึงปัญหาหรือข้อบกพร่องในการคุ้มครองพยานบุคคล ตลอดจนหาแนวทางปรับปรุง แก้ไขกฎหมายหรือมาตรการที่เหมาะสมต่อการคุ้มครองพยานบุคคลของประเทศไทย จากการศึกษาพบว่าปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญต่อการคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญา พิจารณาได้ 3 ประการ คือ การรับรู้ถึงสิทธิของพยาน อันจะนำไปสู่การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมการไม่ได้จัดตั้งหน่วยงานคุ้มครองพยานขึ้นโดยตรง สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทั้งที่ผู้ปฏิบัติงานคุ้มครองพยานเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ และการตรวจสอบสุขภาพทางจิตของพยาน (ปัญหาทางจิต)ก่อนที่จะให้พยานได้รับความคุ้มครองภายใต้มาตรการคุ้มครองพยาน เพื่อให้แน่ใจว่าพยานสามารถที่จะให้การได้อย่างถูกต้อง ไม่ก่อให้เกิดความยุ่งยากและปัญหาการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานในชั้นพิจารณา ผลการศึกษาพบว่า กฎหมายคุ้มครองพยานประเทศจีน ประเทศแคนาดาและประเทศแอลเบเนียมีหน่วยงานหลักที่ทำหน้าที่ในการคุ้มครองพยานเป็นหน่วยงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจทั้งสิ้น เพราะพิจารณาเห็นว่าการคุ้มครองพยานที่มีประสิทธิภาพและดีที่สุด จะต้องเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการคุ้มครองพยานโดยตรง นอกจากนี้ ยังมีมาตรการตรวจสอบและประเมินผลสุขภาพทางจิตของพยานอีกด้วย ในส่วนของการแจ้งสิทธิ ของพยานให้แก่พยานทราบ ไม่ปรากฏว่าได้มีการกำหนดหรือบัญญัติไว้ โดยปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวนั้น ประเทศไทยยังไม่มีการจัดตั้งหน่วยงานคุ้มครองพยานขึ้นโดยตรง สังกัดสพนักงานตำรวจชาติ รวมถึง มาตรการตรวจสุขภาพจิตและการแจ้งสิทธิแก่พยานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพยานบุคคล--การคุ้มครองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัญหาและอุปสรรคของการคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeProblems and difficulties in witness protection in criminal casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate the concepts and theories concerning a witness and the protection of a witness in criminal case, leading to understanding and consideration of the problems or flaws in protecting a witness. Also, this research noted how to improve or edit the law or measure to make it appropriate for the protection of a witness in Thailand. The research revealed three problems and difficulties that are important to the protection of a witness in criminal case: Acknowledgement of a witness’s right that leads to the access to justice. No institute to directly protect a witness under the Royal Thai Police despite the fact that the police are responsible for the protection of a witness. An assessment of mental health of a witness (Mental Disorders) prior to allowing a witness to be protected under the measure of protection to ensure that a witness can actually give evidence that will not cause any difficulties and problems in weighing the evidence in the court. This independent study used a qualita.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156162.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons