Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11801
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปฐวี จีรณราวุฒิ, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-03-29T07:11:32Z-
dc.date.available2024-03-29T07:11:32Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11801-
dc.description.abstractเนื่องจากการขนถ่ายกรดไฮโดรคลอริกจากรถไปสู่ถังเก็บ ทำให้ไอระเหยกรดไฮโดร คลอริกที่อยู่ภายในถังเก็บถูกขับออกมาสู่บรรยากาศ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อพนักงานที่เกี่ยวข้องและ ชุมชนใกล้เคียง การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างระบบบำบัดไอระเหยกรดไฮโดรคลอริก ด้วยวิธีการดูดซึม และ 2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการบำบัดไอระเหยกรดไฮโดรคลอริกโดยการ ดูดซึมด้วยน้ำและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ผลการศึกษา พบว่า 1) ถังระบบบำบัดที่ทำด้วยพลาสติกโพลีเอทิลีนสร้างขึ้นใช้หลักการ ดูดซึมกันระหว่างไอระเหยกรดไฮโดรคลอริกกับน้ำหรือสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งติดตั้ง อยู่บนโครงสร้าง สแตนเลสขนาด 1.05 ตารางเมตร ความสูง : ความกว้าง เท่ากับ 3.5 เมตร X 1.5 เมตร และ 2) ระบบการดูดซึมไอระเหยกรดไฮโดรคลอริกที่สร้างขึ้นมาสามารถบำบัดไอระเหยกรดไฮโดร คลอกริกได้ ระหว่างร้อยละ 9.80- 61.39 ทั้งนี้ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์จะสามารถบำบัดไอระเหย กรดไฮโดรคลอกริกได้เฉลี่ยร้อยละ 61.39 ซึ่งมีประสิทธิภาพในการบำบัดสูงกว่าการใช้น้ำเป็นสาร ดูดซึมร้อยละ 34.90 เมื่อพิจารณาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ จะพบว่า ระบบบำบัดโดยใช้สารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์จะมีความคุ้มค่ามากกว่า เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการบำบัด คิดเป็น 676 บาท ต่อไอระเหยกรดไฮโดรคลอริก 1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (ณ สภาวะมาตรฐานที่อุณหภูมิ 25 องศา เซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ) ถูกกว่าการใช้น้ำเป็นสารดูดซึมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมลพิษทางอากาศ--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectกรดไฮโดรคลอริก--การดูดซึมและการดูดซับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นของไอระเหยกรดไฮโดรคลอริกด้วยวิธีดูดซึมth_TH
dc.title.alternativeEfficiency comparison for reducing hydrochloric acid vapor concentration by absorption methoden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeUpon transferring hydrochloric acid from a transport truck to a storage tank, the vapor of hydrochloric acid inside the storage tank would spread to the surroundings. This would affect related personnel and adjacent communities. The objectives of this research were: (1) to design and establish a disposal system of hydrochloric acid vapor using the absorption method; and (2) to compare the hydrochloric acid vapor absorption efficiencies of two vapor disposal systems using water and sodium hydroxide solution as absorbents. This research was conducted by connecting a pipe to transfer hydrochloric acid from a storage tank to the hydrochloric acid absorption or disposal systems so that the acid vapor would react with two absorbents: water and sodium hydroxide solution. The efficiency of each absorbent was measured three times. Data were collected and then analyzed to determine means and standard deviation, and one-way analysis of variance. The findings of this research revealed that: (1) the polyethylene disposal tank was designed and established for absorbing hydrochloric acid vapor with either water or sodium hydroxide as absorbents; the tank was placed on top of a stainless steel structure 3.5 meters tall and 1.5 meters wide (1.05 sq.m.); and (2) the erected absorption system could absorb 9.8% to 61.4% of the vapor. The sodium hydroxide solution was more efficient as it could absorb 61.4% of hydrochloric acid vapor, compared with only 34.9% for the water system. Economically, the sodium hydroxide system was more cost-effective as it cost only 676 baht per hydrochloric acid vapor of 1 mg/m3 (at standard condition: 25°C and a pressure of 1 atmosphere), which was cheaper than that using water for absorption.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156595.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons