Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11816
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุขอรุณ วงษ์ทิม | th_TH |
dc.contributor.author | สว่างจิตต์ กาญจนะโกมล, 2508- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-01T09:14:35Z | - |
dc.date.available | 2024-04-01T09:14:35Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11816 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความฉลาดรู้ทางสุขภาพของนักเรียนพยาบาล ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบความฉลาดรู้ทางสุขภาพของนักเรียนพยาบาล กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการให้คำแนะนำแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาล ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 40 คน ที่มีความสมัครใจในการเข้าร่วมโครงการวิจัย จากนั้นจึงมีการสุ่มอย่างง่าย เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ทางสุขภาพ จำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที กลุ่มควบคุมได้รับการให้คำแนะนำแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ทางสุขภาพ และ (2) แบบวัดความฉลาดรู้ทางสุขภาพที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .83 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว นักเรียนพยาบาล กลุ่มทดลองมีความฉลาดรู้ทางสุขภาพสูงกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนพยาบาลกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว มีความฉลาดรู้ทางสุขภาพสูงกว่า นักเรียนพยาบาลกลุ่มควบคุมที่ได้รับการให้คำแนะนำแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.title | ผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ทางสุขภาพของนักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activities package to develop health literacy of nursing students in the Royal Thai Army Nursing College | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were (1) to compare health literacy of nursing students before and after receiving a guidance activities package and (2) to compare health literacy of an experimental group receiving the guidance activities package and a control group receiving regular guidance The samples consisted of 40 second-year nursing students in an academic year 2019 at The Royal Thai Army Nursing College, who volunteered to participate in the research project Then, a method of simple random sampling was conducted to separate the samples into two groups, the experimental group and the control group ,with 20 students in each groups, The experimental group received the guidance activities package to develop health literacy for 12 sessions with duration of 50 minutes in each session, while the control group received normal guidance. The instruments were (1) the guidance activities package to develop health literacy, and (2)the health literacy questionnaire with a reliability of .83 The statistics employed for analysis were percentile, medium, standard deviation and t-test Research findings revealed as follow; (1) After receiving the guidance activities package, health literacy of nursing students in the experimental group was higher with statistical significance at a level of .01 and (2) The health literacy of the nursing students in the experimental group who received the guidance activities package was higher than the nursing students in the control group who received normal guidance with statistical significance at a level of .01 | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิธิพัฒน์ เมฆขจร | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License