Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11864
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประกาฬ ตันสิทธิพันธ์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-04-11T07:16:15Z-
dc.date.available2024-04-11T07:16:15Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11864-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งการทุจริตและการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 2) ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายของต่างประเทศ และกฎหมายของประเทศไทย ในเรื่องการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด และการรับตามธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่รัฐ 3) ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดกรณีการรับตามธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่รัฐ 4) เสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทางกฎหมาย กรณีการรับตามธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่รัฐตามมาตรา 128 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสาร จากตัวบทกฎหมาย เอกสารทางวิชาการ ได้แก่ หนังสือ ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ และข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ ภาครัฐวิสากิจและภาคเอกชน รวมถึงเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนถึงเอกสารทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จากทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลการศึกษา พบว่า 1) การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแม้ว่าเป็นการการรับตามธรรมจรรยาก็อาจเป็นการจูงใจให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชัน ด้วยการมีความกดดัน การมีโอกาส การมีข้ออ้าง การมีผลประโยชน์ที่ทับซ้อนกัน และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การพึ่งพิงระบบอุปถัมภ์มาอย่างยาวนาน 2) จากการเปรียบเทียบกฎหมายของต่างประเทศที่มีความเข้มแข็งในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต กรณีการรับตามธรรมจรรยานั้น บางประเทศถือเป็นสิ่งที่ไม่สามารถยอมรับได้ แม้แต่เพียงเล็กน้อยบางประเทศสามารถยอมรับได้บางส่วนคล้ายคลึงกับประเทศไทย 3) จากการวิเคราะห์ประกอบกับแผนปฏิรูปประเทศ กำหนดให้มีการนำนโยบายการงดการรับของขวัญ (No Gift Policy) มาใช้ แต่การยกเลิกการรับตามธรรมจรรยาในทันที อาจเกิดปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายได้ จึงควรดำเนินการแบบค่อยเป็นค่อยไป เพื่อให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากวงจรกับดักการทุจริตคอร์รัปชัน 4) ผู้ศึกษาขอเสนอแนะว่าในระยะแรก ควรใช้มาตรการทางบริหาร พร้อมทั้งการรณรงค์นโยบายดังกล่าวให้ทุกหน่วยงานรับทราบและถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด และระยะต่อไปให้นำมาตรการทางกฎหมาย โดยยกเลิกการรับตามธรรมจรรยาตามมาตรา 128 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสินบน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการยกเลิกการรับตามธรรมจรรยาตามมาตรา 128 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561th_TH
dc.title.alternativeRevocation of the acceptance on ethical basis Under Paragraph One of Section 128 of Organic Act on Anti-Corruption B.E. 2561en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to, The purpose of this independent study is 1) To study the concepts and theories related to the cause of corruption. and the prevention and suppression of corruption. 2) To study and compare the laws of foreign countries. and the laws of Thailand in regards to accepting assets or any other benefits and on ethical basis of government officials. 3) To study and analyze legal problems about the acceptance of assets or any other benefits is on ethical basis of government officials. 4) To suggest guidelines for solving legal problems. In the case of on ethical basis of government officials. Under Paragraph one of Section 128 of Organic Act on Anti-Corruption B.E. 2561 This independent study is a qualitative research documents by means of legal research, documents. Academics include books, textbooks, articles, thesis, and government agencies' information. government sector and the private sector, including other relevant documents as well as electronic documents from both in the country and abroad. The results of the study found that 1) Accepting assets or any other benefit Even if it is on ethical basis It may be an incentive to corruption. With the pressure, the opportunity, the pretext, the conflict of interest. and interpersonal relationships Long reliance on the patronage system. 2) From the comparison of foreign laws that are strong in preventing and suppressing corruption in cases of on ethical basis In some countries this is unacceptable. even a little Some countries are acceptable, some are similar to Thailand. 3) From the analysis in conjunction with the national reform plan Requires that The No Gift Policy. But revocation on ethical basis immediately. Law enforcement problems can arise. Therefore, it should be done gradually. in order for Thailand to escape from the cycle of corruption traps. 4) The study recommends that in the initial stage Administrative measures should be taken. as well as campaigning for the said policy for all agencies to acknowledge and strictly adhere to it, and in the next phase, legal measures by Revocation of the acceptance on ethical basis under Paragraph one of Section 128 of Organic Act on Anti-Corruption B.E. 2561en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons