Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11873
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิรนาท แสนสา | th_TH |
dc.contributor.author | นงนภสร รวัตวงศ์, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-17T03:04:04Z | - |
dc.date.available | 2024-04-17T03:04:04Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11873 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมตนเองด้านการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวพุทธศาสนา และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมตนเองด้านการเรียนของนักเรียนหลังการทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ภาคเรียมที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านหนองแวงโพนเขวา จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนระดับชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น จำนวน 12 กิจกรรม ใช้เวลากิจกรรมละ 50 นาที และ (2) แบบวัดความสามามารถในการควบคุมตนเองด้านการเรียน มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที การวิจัยปรากฎผล ดังนี้ (1) ภายหลังการทดลองนักเรียนที่เข้าร่วมกิรรมแนะแนวตามตามแนวพุทธศาสนามีความสามารถในการควบคุมตนเองด้านการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนมีความสามารถในการควบคุมตนเองด้านการเรียนภายหลังการทดลองกับในระยะติดตามผลไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การแนะแนว--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | พุทธศาสนา--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การควบคุมตนเองในเด็ก | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาความสามารถในการควบคุมตนเองด้านการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 โรงเรียนบ้านหนองแวงโพนเขวา จังหวัดศรีสะเกษ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using a guidance activities package based on Buddhist approach to develop self-control ability in learning of Prathom Suksa IV – VI Students of Ban Nong Waeng Phon Khwao School in Si Sa Ket Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare self-control abilities in learning of students before and after using a guidance activities package based on Buddhist approach to develop self-control ability in learning; and (2) to compare the self-control ability in learning of the students at the end of the experiment with the counterpart ability during the follow up period. The research sample consisted of 30 Prathom Suksa IV - VI students of Ban Nong Waeng Phon Khwao School in Si Sa Ket province during the second semester of the 2021 academic year, obtained by stratified random sampling proportional to class level. The employed research instruments were (1) a guidance activities package developed by the researcher consisting of 12 activities each of which taking 50 minutes, and (2) an evaluation form for assessment of self-control ability in learning, with reliability coefficient of .92. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were that (1) after the experiment, the post-experiment self-control ability in learning of the students who participated in guidance activities based on the Buddhist approach was significantly higher than their pre-experiment counterpart ability at the .05 statistical significance level; and (2) the self-control abilities in learning of the students at the end of the experiment and during the follow up period were not significantly different. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License