Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorศรีสุดา เย็นใส, 2536-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T02:04:31Z-
dc.date.available2024-04-18T02:04:31Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11898en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินการใช้ระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริหารท้องถิ่น (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากการใช้ระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริหารท้องถิ่น (3) เปรียบเทียบการประเมินการใช้ระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริหารท้องถิ่น จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) เปรียบเทียบความคิดเห็นกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคจากการใช้ระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริหารท้องถิ่นของเทศบาลในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษาคือบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริหารท้องถิ่นของเทศบาลในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 270 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวน 240 คน สุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเมื่อพบความแตกต่างทางสถิติใช้การเปรียบเทียบเชิงพหุคูณด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า (1) การประเมินระบบในด้านผลผลิต มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การใช้งานระบบทำให้เกิดการเชื่อมโยงกันระหว่าง ร ระบบงาน ได้แก่ ระบบงบประมาณ ระบบข้อมูลรายรับ ระบบข้อมูลรายจ่าย ระบบบัญชี และระบบบริหาร ส่วนด้านกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การกำหนดแผนการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในระบบ (2) ปัญหาและอุปสรรคจากการใช้งานระบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งข้อที่มีค่เฉลี่ยมากที่สุดคือ หน่วยงานไม่ได้ทดลองใช้ระบบก่อนการใช้งานจริง รองลงมา คือ ด้านการทำงานของระบบเกิดปัญหาการใช้งานไม่ได้อยู่บ่อยครั้งและไม่สามารถเปิดหน้าจอเพื่อบันทึก ข้อมูลและเปิดรายงานหลายๆ รายงานเพื่อเปรียบเทียบยอดพร้อมกันได้ (3) บุคลากรที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีการประเมินการใช้ระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริหารท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน และ (4) บุคลากรที่มีอายุงานแตกต่างกันมีปัญหาและอุปสรรคในการใช้งานระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริหารท้องถิ่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectระบบอิเล็กทรอนิกส์--การบัญชี--การประเมินth_TH
dc.subjectการบัญชี--โปรแกรมคอมพิวเตอร์th_TH
dc.subjectเทศบาล--ไทย--นครศรีธรรมราช--การบริหาร.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการประเมินการใช้ระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริหารท้องถิ่นของเทศบาลในจังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of usage Electronic Local Administration Accounting System (e-LAAS) of municipality in Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to evaluate of usage of electronic for Local Administration Accounting System (e-LAAS) of municipality in Nakhon Si Thammarat Province (2) study the problems and obstacles of using e-LAAS of municipality in Nakhon Si Thammarat (3) to compare the usage of e-LAAS, and (4) to compare the problems and obstacles for the implementation of e-LAAS classify by personnel factor. The population of this quantitative research consisted of 270 users of e-LAAS of municipality in Nakhon Si Thammarat Province. 240 samples were selected by using Taro Yamane formula with simple random sampling. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA. Scheffe’s multiple comparisons will used for testing the differences. The results revealed that (1) the evaluation system of productivity aspect was at the highest level which related to the usage system link among 5 systems of budget system, revenue information system, expense information system, accounting system, and management system. While the process aspect was at the lowest level which was a planning process for the user of this system (2) problems and obstacles of using e-LAAS was overall at a high level. Most problems and obstacles for the highest level because the agencies did not try before using the e-LAAS, followed by the operating system which frequently had problems and cannot operate, the screen did not work, the data cannot save and the multiple reports cannot compare across at the same time (3) the staff who had different personal factors, had no different opinion of evaluation the usage of e-LAAS, and (4) the staff who had different age, had different problems and obstacles of using e-LAAS was statistically significant at the level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
160376.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons