Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11922
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุกฤษฎิ์ ตั้งเอียด, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T03:42:00Z-
dc.date.available2024-04-18T03:42:00Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11922-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในจังหวัดภูเก็ต (2) ระดับความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในจังหวัดภูเก็ต และ (3) ความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมของผู้บริโภคในการใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในจังหวัดภูเก็ต การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ ประชาชนที่พักอาศัยอยู่ในจังหวัดภูเก็ต และเข้าใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในจังหวัดภูเก็ต เนื่องจากไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน จึงกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรของ คอแครน ได้ 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริโภคที่เข้ามาใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในจังหวัดภูเก็ตส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-30 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท ส่วนพฤติกรรมของผู้บริโภคส่วนใหญ่ชอบรับประทานที่ร้าน ความถี่ในการเข้าใช้บริการไม่เกิน 1 ครั้งต่อเดือน ชำระค่าอาหารโดยเฉลี่ยมากกว่า 600 บาทขึ้นไป และเข้าใช้บริการบ่อยที่สุดในวันเสาร์-วันอาทิตย์ โดยใช้บริการในรูปแบบอาหารชุด (2) ระดับความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในจังหวัดภูเก็ต อยู่ในระดับมาก โดยผลการศึกษารายด้านพบว่าด้านผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการบริการ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ตามลำดับ และ (3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ สถานภาพ การศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของผู้บริโภคในการใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในจังหวัดภูเก็ตด้านค่าอาหารโดยเฉลี่ยต่อครั้งในการใช้บริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--ภูเก็ตth_TH
dc.subjectร้านอาหารญี่ปุ่น--ไทย--ภูเก็ตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในจังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeConsumer behavior in using Japanese restaurants at Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study (1) individual factors and consumer behavior in using Japanese Restaurants at Phuket Province (2) the relationship level of marketing mix factors in using Japanese Restaurants in Phuket Province, and (3) the relationship between individual factors and consumer behavior in using Japanese Restaurants at Phuket Province. This research is a survey research which conducted with the people who living in Phuket and using Japanese Restaurants. Due to an unknown actual population size, 400 people participated in this research which calculated based on the Cochran principle. The survey data collection was carried out through questionnaire. The statistic for data analysis consists of mean, percentage, standard deviation, and Chi-square test. The result shows that (1) the majority of Japanese Restaurant consumers are single female with age range in 20-30 years old. All of them possessed a bachelor’s degree, work for business companies with average monthly income of 20,001 – 30,000 Baht. The majority of the consumers prefer to dine-in with the frequency of not more than 1 time per month, and the price of more than 600 baht per visit. The most frequent visiting time is at the weekend. The most favorite menu was a set-menu (2) the relationship level of marketing mix factors in using Japanese Restaurants was at high level. The study found that the products, people, process, physical evidence, price, promotion and place are important which rank in respectively, and (3) individual factors; sex, status, education, occupation and monthly average income significantly correlate with consumption expense spent each time at 0.05 significance levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161314.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons