Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่างth_TH
dc.contributor.authorวันทนา ไชยกูล, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T08:03:07Z-
dc.date.available2024-04-18T08:03:07Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11948en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพการบริการตาม ความคิดเห็นของผู้รับบริการการฝึกอบรมของสํานักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ (2) เปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการของสํานักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จําแนก ตามลักษณะส่วนบุคคล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือผู้รับบริการโครงการ ฝึ กอบรมจํานวน 524 คน ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 230 คน กาหนดกลุ่มตัวอยางโดยการสุ่มตัวอย่างเชิงระบบ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษา พบว่าผู้รับบริการการฝึกอบรมของสํานักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 30-40 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์ ทํางานมาแล้ว 5-10 ปี มีรายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท และ (1) ระดับคุณภาพการบริการของ สํานักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าระดับมากที่สุด คือ ด้านการให้ความเชื่อมั่น รองลงมาอยู่ในระดับมาก คือ ด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ ด้านความเป็นรูปธรรม ด้านการตอบสนอง และด้านการรู้จักและเข้าใจลูกค้า ตามลําดับ และ (2)การเปรียบเทียบระหว่างคุณภาพการบริการการฝึกอบรมจําแนกตามลักษณะ ส่วนบุคคล พบว่าผู้รับบริการที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทํางาน และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อคุณภาพการบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการฝึกอบรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleคุณภาพการบริการการฝึกอบรมของสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeService quality of training at Academic Service Center, Mahasarakham Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to study (1) the level of service quality of training at Academic Service Center, Mahasarakham University, and (2) compare the service quality of training at Academic Service Center, Mahasarakham University divided by personal characteristics. The population of this survey study consisted of 524 trainees at Academic Service Center, Mahasarakham University. The sample was 230 trainees, calculated the sample size by using systematic sampling. Data collection tools were constructed questionnaires and the data were analyzed by using descriptive statistics, percentage, mean, standard deviation, t-test, and one-way ANOVA. The Results was found that Most of the trainees at Academic Service Center, Mahasarakham University were female, age between 30-40 years old, graduated with a Bachelor's degree, with work experiences for 5-10 years, and average of income between 20,001-30,000 baht, and (1) the level of service quality of trainees at Academic Service Center, Mahasarakham University was overall at a high level. As for each aspect, at the highest level assurance, reliability, tangibility, responsiveness, and empathy; (2) trainees with different genders, ages, levels of education, Work experience, and incomes per month had different opinion toward service quality, with a statistical significance at the level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153301.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons