Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11950
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิตตินันท์ เดชะคุปต์ | th_TH |
dc.contributor.author | สิทธิพร กล้าแข็ง, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-18T08:11:25Z | - |
dc.date.available | 2024-04-18T08:11:25Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11950 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.บ. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมความสุขของครอบครัวพนักงานในองค์กรสุขภาวะ กรณีองค์กรสุขภาวะต้นแบบด้านการส่งเสริมความสุข บริษัท ริกิการ์เม้นส์ จำกัด ในนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดราชบุรี แบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) ครอบครัวพนักงานที่ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรว่าเป็นครอบครัวที่มีความสุข มีบุตรอายุไม่เกิน 18 ปี อาศัยอยู่ด้วยกันและทำงานอยู่กับองค์กรแห่งนี้ไม่น้อยกว่า 3 ปี จำนวน 13 ครอบครัว (2) คณะทำงานนักสร้างสุข ที่มีบทบาทหน้าที่ดูแลส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพนักงาน จำนวน 3 คน และ (3) ผู้บริหารองค์กรที่มีบทบาทกำหนดนโยบายส่งเสริมความสุขให้แก่ครอบครัวพนักงาน จำนวน 1 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแนวการสัมภาษณ์สำหรับครอบครัวพนักงาน คณะทำงานนักสร้างสุข และผู้บริหารองค์กร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า การส่งเสริมความสุขของครอบครัวพนักงานในองค์กรสุขภาวะ ที่ศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ (1) การกำหนดนโยบายขององค์กรในการส่งเสริมความสุขให้กับพนักงานและครอบครัวพนักงานตามแนวคิดองค์กรสุขภาวะที่จริงจังชัดเจน (2) การส่งเสริมความสุขของครอบครัวพนักงานมีกระบวนการจัดการอย่างเป็นระบบ และ (3) การมีส่วนร่วมของครอบครัวพนักงานในกิจกรรมสร้างสุขครอบครัวตามแนวทางความสุข 8 ประการ ทั้งนี้พนักงานองค์กรสะท้อนความคิดว่า พนักงานสามารถจัดสมดุลระหว่างชีวิตการงานและชีวิตครอบครัวได้ดีขึ้น มีความเครียดในครอบครัวน้อยลงและมีความสุขในการทำงานมากขึ้น สำหรับสมาชิกในครอบครัว ระบุว่า มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันเพิ่มมากขึ้น ได้รับทักษะความรู้ในการดำรงชีวิตที่เหมาะสม มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีมากขึ้น มีความรักความอบอุ่นภายในครอบครัวมากขึ้น ซึ่งทำให้พนักงานรู้สึกผูกพันกับองค์กรและตั้งใจทำหน้าที่ของตนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความสุข | th_TH |
dc.subject | การทำงานและครอบครัว | th_TH |
dc.subject | สมดุลชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.title | การส่งเสริมความสุขของครอบครัวพนักงานในองค์กรสุขภาวะ : ศึกษาเฉพาะกรณีองค์กรต้นแบบด้านการส่งเสริมความสุข บริษัท ริกิการ์เม้นส์ จำกัด ในนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดราชบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Promotion of happiness for employees’ families in happy workplace : a case of happy workplace model at Riki Garments Company in Ratchaburi Industrial Estate | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาครอบครัวและสังคม) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to the promotion of happiness for employee’s families in happy workplace. It is a case of happy workplace model at Riki Garments Company in Ratchaburi Industrial. This study is a qualitative research using in-depth interview techniques. The key Informants were divided into 3 groups including (1) 13 employee’s families nominated by the organization as happy families living with children under 18 years and working with the company at least 3 years (2) 3 happy workplace promoters whose roles promoting the quality of life of employees, and (3) 1 chief corporate executive officer whose role determining the policy to promote happiness for the employees' families. Research instrument was interview guides for employee’s family, happy workplace promoter and chief corporate executive officer. Data analysis was conducted by using thematic content analysis. The results showed that vital components, promoting happiness for the employee’s families in this happy workplace, consisted of 3 aspects including (1) a clear company’s policy promoting the happiness for employees and their families using the concept of happy workplace; (2) a systematic process of happy family promotion starting from setting up the working group of happy workplace promoters, surveying the employee’s family situations, monitoring action plan of happy family programs and evaluation; and (3) a full participation of employees and their families in happy family programs. In addition, employees reflected their feedbacks that they have better work-life balance, less stress in family and happier at work. In terms of employees’ family members indicated that they had closer family relationships, appropriate life skills, healthier mind and body, and also more love and happier family. The employees felt committed to fulfil the organization goals and intended to perform best of their job duties | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
Appears in Collections: | Hum-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 30.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License