Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11952
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัชร์ชัยนันท์ เหล่าทัศน์, 2538--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T08:18:17Z-
dc.date.available2024-04-18T08:18:17Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11952-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.(บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายการป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปสู่การปฏิบัติ (2) ปัญหาของการนำนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปสู่การปฏิบัติ และ (3) ระดับความสำเร็จของการนำนโยบาย การป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปสู่การปฏิบัติ การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี ประชากร ได้แก่ ประชาชนและบุคลากรของหน่วยภาครัฐที่อาศัยอยู่ในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว จำนวน 566,303 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้ 400 คน ซึ่งคำนวณสูตรของทาโร่ยามาเน่ โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว จำนวน 17 คน ซึ่งกำหนดการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพาะเจาะจง โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปสู่การปฏิบัติ ได้แก่ ด้านความชัดเจนและมาตรฐานของนโยบาย ด้านทรัพยากรและงบประมาณของนโยบาย ด้านบุคลากรและความพร้อมของบุคลากร ด้านการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ ด้านสมรรถนะของหน่วยงานภาครัฐ ด้านการประสานงานของหน่วยงานภาครัฐ ด้านการสนับสนุน ของอาสาสมัครและชุมชน และด้านสภาพแวดล้อม ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม (2) ปัญหาของการนำนโยบายการป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปสู่การปฏิบัติ ได้แก่ การขาดแคลนงบประมาณ บุคลากรและทรัพยากรมีไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน การไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน และควบคุมโรคของประชาชน การเดินทางเข้า – ออกในพื้นที่จังหวัดสระแก้วของประชาชนที่ไม่ได้รับอนุญาตจากทางราชการ (3) ระดับความสำเร็จของการนำนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปสู่การปฏิบัติ ภาพรวมอยู่ในระดับมากในทุกด้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การป้องกัน--ไทย--สระแก้วth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปสู่การปฏิบัติ : กรณีศึกษาจังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the prevention and control policy implementation of coronavirus disease 2019 (COVID-19) : a case study in Sa Kaeo Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study (1) factors influencing policy implementation of coronavirus disease 2019 (COVID-19) (2) problems related to policy implementation of coronavirus disease 2019 (COVID-19) and (3) the levels of policy implementation achievement of coronavirus disease 2019 (COVID-19). This study employed a mixed methods research comprising : quantitative and qualitative research. The quantitative approach was conducted through the population includes citizens and personnel of government agencies residing. In the are of Sa Kaeo province of 566,303 people, the sample size can be set to 400 people The sample size was calculated based on Taro Yamane's formula using a multistage sampling method. The qualitative research was conducted through in-depth interview with 17 key informants from government agencies in Sa Kaeo province. The key informants for interviews was selected based on a purposive sampling. The research instruments were questionnaires and interview questions. The statistics used for data analysis comprise: mean, standard deviation, analysis of variance, and multiple regression analysis The research revealed that (1)factors influencing implementation policy implementation of coronavirus disease 2019 (COVID-19) are: clear and smart policy, sufficient resources and budget, the readiness of related staff, effective public information dissemination accompanied with public relations, the competency of government agencies, coordination of government agencies, support of volunteers and communities, and the good conditions of politics, economy, and society. (2) the problems of policy implementation of coronavirus disease 2019 (COVID-19) are lack of budget, insufficient personnel and resources, non-compliance of measures related to the disease prevention and control as well as the traveling restriction measures in Sa Kaeo Province. (3) the levels of policy implementation achievement of coronavirus disease 2019 (COVID-19) in Sa-Kaeo province is at a high level in all areas of policy implementationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม34.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons