Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11956
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวลัญช์ โรจนพลth_TH
dc.contributor.authorสุชานาถ ทำชาวนา, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T03:24:51Z-
dc.date.available2024-04-19T03:24:51Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11956en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาวิธีการส่งเสริมประชาธิปไตยของศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดลำปาง (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสริมประชาธิปไตยของศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต) สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดลำปาง (3) เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสริมประชาธิปไตยของศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดลำปาง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง จากจำนวน ประชากร 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดลำปาง และผู้นำศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบลในพื้นที่ กลุ่มสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดลำปาง (กศน.) กลุ่มผู้นำท้องถิ่น กลุ่มผู้นำท้องที่กลุ่มประชาชนในพื้นที่กลุ่มผู้นำส่วนภูมิภาครวมทั้งสิ้น 24 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) การส่งเสริมประชาธิปไตยของศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดลำปาง มี 3 วิธี ได้แก่ 1) การสร้างความเป็นพลเมือง 2) การสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน 3) การสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย (2) ปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสริมประชาธิปไตย แบ่งออกเป็น 3 ประเด็น ดังนี้ 1) ประชาชนไม่รู้สถานภาพและบทบาทของตนเองในฐานะเจ้าของอำนาจอธิปไตย 2) อิทธิพลของผู้นำที่มีบทบาทในการชี้นำ 3) ประชาชนไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ไม่กล้าเสนอปัญหาและความต้องการร่วมกันของชุมชน (3) แนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสริมประชาธิปไตย มี 2 แนวทาง ดังนี้ 1) ให้ประชาชนรู้สถานภาพและบทบาทของตนเองในฐานะเจ้าของอำนาจอธิปไตย 2) สร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยคนในชุมชนเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล (ศส.ปชต.)th_TH
dc.subjectประชาธิปไตย--ไทยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งกับการส่งเสริมประชาธิปไตยจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeSub-district Democracy Development Center (SDDC), Office of the Election Commission and the Promotion of Democracy in Lampangen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the method to promote democracy by Sub-district Democracy Development Center (SDDC), Office of the Election Commission in Lampang, (2) to investigate problems and obstacles on promotion of democracy by Sub-district Democracy Development Center (SDDC), Office of the Election Commission in Lampang, and (3) to propose the solution on promotion of democracy by Sub-district Democracy Development Center (SDDC), Office of the Election Commission in Lampang. This research was a qualitative research. There were 24 purposive samples (5 groups) which consisted of executives of Office of the Election Commission in Lampang, leaders of Sub-district Democracy Development Center, leaders of Lampang Provincial Office of the Non-Formal and Informal Education (NFE), local leaders and related people. The research instruments were interviews and descriptive data analysis. This research found that (1) there were 3 methods to promote democracy by Sub-district Democracy Development Center (SDDC), Office of the Election Commission in Lampang including 1) creation of citizenship, 2) creation of political participation of the people and 3) creation of a democratic political culture. (2) Problems and obstacles on promotion of democracy were divided into of 3 issues including 1) lacking of knowledge on status and roles of sovereignty, 2) Influencing of leaders in guiding roles, and 3) people did not dare to express their opinions and present their community problems. There were 2 approaches to solve the problems in promoting democracy as follows 1) providing the knowledge on status and roles of sovereignty to people and 2) strengthening the community by themselves.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons