Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1195
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสรวง พฤติกุล | th_TH |
dc.contributor.author | จุฑารัตน์ เจริญชัยชนะ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-27T14:34:57Z | - |
dc.date.available | 2022-08-27T14:34:57Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1195 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) สภาพการใช้สารสนเทศ และ (2) ปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการบริหารของผู้บริหารโรงพยาบาลชุมชนเขต 4 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารโรงพยาบาลชุมชนเขต 4 จำนวน 34 แห่ง ในจังหวัด กาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม และสุพรรณบุรี ที่มีตำแหน่งผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ่มงานและหัวหน้างาน จำนวน 410 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม โดยส่งทางไปรษณีย์ และได้รับกลับคืนมาร้อยละ 78.05 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารทุกตำแหน่งใช้เนื้อหาสารสนเทศ จำแนกเป็น 3 กลุ่ม 13 เรื่องในระดับ ปานกลาง โดยผู้อำนวยการใช้มากอันดับแรก คือ สารสนเทศทั่วไป เรื่อง นโยบาย แผนของกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลชุมชน ขณะที่หัวหน้ากลุ่มงานและหัวหน้างานใช้มากอันดับแรก คือ สารสนเทศทั่วไป เรื่อง การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล/สารสนเทศมาตรฐาน ผู้บริหารทุกตำแหน่งใช้สารสนเทศรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ในระดับปานกลาง โดยรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้อำนวยการ และหัวหน้างานใช้มากอันดับแรก คือ เรื่องการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล/ สารสนเทศมาตรฐาน และหัวหน้ากลุ่มงานใช้มากอันดับแรก คือ เรื่องการพัฒนาบุคลากร รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผู้อำนวยการใช้มากอันดับแรก คือ เรื่องการป้องกันและควบคุมโรค หัวหน้ากลุ่มงานใช้มากอันดับแรก คือ เรื่องการพัฒนาบุคลากร และหัวหน้างานใช้มากอันดับแรก คือ เรื่องการบริการรักษาพยาบาล แหล่งสารสนเทศที่ผู้อำนวยการและหัวหน้ากลุ่มงานใช้มากอันดับแรก คือ หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ขณะที่หัวหน้างานใช้มากอันดับแรก คือ ผู้บังคับบัญชา/ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหารทุกตำแหน่งใช้ วิธีการเข้าถึงสารสนเทศมากอันดับแรก คือ การใช้คอมพิวเตอร์สืบค้นสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ที่ผู้บริหารส่วนใหญ่ใช้ คือ เว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข (2) ปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการบริหารที่ผู้บริหารทุกตำแหน่งประสบ คือ แหล่งสารสนเทศไม่มีการประชาสัมพันธ์และไม่จัดทำเครื่องมือช่วยค้นสารสนเทศไม่ตรงความต้องการ และผู้บริหารมีข้อจำกัดเรื่องเวลา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศ--การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | th_TH |
dc.title | การใช้สารสนเทศเพื่อการบริหารของผู้บริหารโรงพยาบาลชุมชนเขต 4 | th_TH |
dc.title.alternative | Information use for administration by community hospitals' administrators, region 4 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) the status of information use and (2) problems encountered in obtaining and using information for administration by community hospitals’ administrators in Region 4. It was a survey research. The population consisted of 410 community hospitals’ administrators from Region 4 which covers 34 community hospitals in Kanchanaburi, Ratchaburi, Nakhon Pathom, and Suphan Buri Provinces; their positions were directors, heads of working groups and heads of units. The research questionnaires were sent via post and 78.05% were returned. Frequencies, percentage, mean and standard deviations were used to analyze data. The research found that (1) the three main topics with 13 subtopics of information were used by administrators from all positions at a moderate level. The directors were mainly interested in general information about the policy and planning of the Ministry of Public Health. Heads of working groups and heads of units were mainly interested in general information about hospital quality development and standards. All of the administrators accessed information in electronic and print formats at a moderate level. In electronic format, the directors and heads of units mainly accessed information about hospital quality development and standards. The heads of working groups mainly accessed information about personnel development. In printed format, the directors mainly accessed information about disease prevention and control. The heads of working groups mainly accessed information about personnel development, and heads of units mainly accessed information about health care services. The information source mainly used by the directors and heads of working groups was the Ministry of Public Health. The information sources mainly used by heads of units were superiors, such as directors or experts. The main ways to get information by all administrators were through computers and the Internet. The website of the Ministry Public Health was the most frequently used website by all administrators. (2) The problems in using information that most management encountered were lack of public relations about the information services provided and lack of tools for information access, information needed was not available and lack of time to access information. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สาคร บุญดาว | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (9).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License