กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11965
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ | th_TH |
dc.contributor.author | ศรัญญา บุญคง, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-19T06:59:03Z | - |
dc.date.available | 2024-04-19T06:59:03Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11965 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบริการพร้อมเพย์ และความตั้งใจใช้บริการพร้อมเพย์จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของเจ้าหน้าที่สํานักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ภาค 6 (2) ความสัมพันธ์ของความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบริการพร้อมเพย์กับความตั้งใจใช้บริการพร้อมเพย์ (3) ความสัมพันธ์ของการยอมรับและการใช้เทคโนโลยีกับความตั้งใจใช้บริการพร้อมเพย์ (4) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบริการพร้อมเพย์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวมรวมข้อมูล ประชากรในการศึกษา คือ เจ้าหน้าที่สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 6 จํานวน 153 คน โดยเก็บจากกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 110 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) เจ้าหน้าที่สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 6 ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพร้อมเพย์อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบริการพร้อมเพย์และความตั้งใจใช้บริการพร้อมเพย์ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความรู้ความเข้าใจแตกต่างกัน (2) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบริการพร้อมเพย์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความตั้งใจใช้บริการพร้อมเพย์ (3) การยอมรับและการใช้เทคโนโลยีทุกด้านมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความตั้งใจใช้บริการพร้อมเพย์ (4) ข้อเสนอแนะส่วนใหญ่ ต้องการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสร้างความเชื่อมันด้านความปลอดภัยของข้อมูลเมื่อใช้บริการพร้อมเพย์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ภาค 6--ข้าราชการและพนักงาน | th_TH |
dc.subject | การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการพร้อมเพย์ของเจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ภาค 6 | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to willingness to use Prompt Pay service of officers in the Office of the National Anti-Corruption Commission Region 6 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study were (1) to study the knowledge and understanding of Prompt Pay service and the willingness to use Prompt Pay service, classified by personal factors of officers of the Office of the National Anti-Corruption Commission Region 6; (2) to investigate the relationship between knowledge and understanding of Prompt Pay service and the willingness to use Prompt Pay service; (3) to study the relationship of technology acceptance and use and the willingness to use Prompt Pay service; and (4) to offer the suggestions of the Prompt Pay service. The population of this survey research consisted of 153 officers of the Office of the National Anti-Corruption Commission Region 6. The sample of this study was 110 officers. Stratified Random Sampling was used as the sampling method. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics employed for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Pearson's correlation coefficient. The results of this study showed that (1) the sample mostly had a moderate level of knowledge and understanding of Prompt Pay service. The sample with different personal factors had no different knowledge and understanding of Prompt Pay service and willingness to use this service. However, the sample with different education levels had different knowledge and understanding of Prompt Pay service, (2) knowledge and understanding of Prompt Pay service was positively related to willingness to use Prompt Pay service, (3) all aspects of technology acceptance and use were positively related to the willingness to use Prompt Pay service, and (4) the sample mostly gave their suggestions involving organizations that they should enhance the user’s confidence on security and safety when using Prompt Pay service. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
155003.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.09 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License