Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11974
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศรีประกอบ พุทธวงศ์, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T08:06:07Z-
dc.date.available2024-04-19T08:06:07Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11974-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความพึงพอใจในบริการจัดเก็บภาษีของ เทศบาลตําบลปากคาด อําเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬ (2) ความสัมพันธ์ระหวางปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด อําเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬ (3) แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด จังหวัดบึงกาฬ ให้สอดคล้องกบความต้องการของผู้เสียภาษีต่อไป ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ บุคคลที่อยูในข่ายเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินภาษี บํารุงท้องที่และภาษีป้าย ประจําปี 2560 ของเทศบาลตําบลปากคาด อําเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬ จํานวน 439 คน ตัวอย่างได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการคํานวณของทาโร่ ยามาเน่ ได้จํานวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า (1) ปัจจัยการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านผู้ให้บริการอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านสิ่งอํานวยความสะดวกอยู่ในระดับ มาก และด้านสถานที่การให้บริการ และด้านสิ่งอํานวยความสะดวก อยูในระดับปานกลาง (2)ความสัมพันธ์ระหวางปัจจัยส่วนบุคคลกบปัจจัยการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด พบวา่ อายุและอาชีพ มีความสัมพันธ์กบปัจจัย ั การ ให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด ส่วนด้านเพศ ระดับการศึกษา และรายได้ไม่มี ความสัมพันธ์กบั ปัจจัยการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาดอย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติ (3)แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด ได้แก่ ควรเพิ่มความถี่ในการจัดเก็บภาษีนอกสถานที่ ควรลดขั้นตอนการดําเนินงาน เพิ่มป้ าย ประชาสัมพันธ์บอกจุดบริการให้ชัดเจน ควรจัดทําโครงการจัดเก็บภาษีนอกสถานที่อย่างต่อเนื่อง และเพิ่มช่องทางการยื่นแบบ และเสียภาษีทางอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเทศบาลตำบลปากคาด--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectเทศบาลตำบล--ไทย--บึงกาฬ--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษี--ไทยth_TH
dc.subjectผู้เสียภาษี--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้เสียภาษีต่อการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตำบลปากคาด อำเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬth_TH
dc.title.alternativeTaxpayers’ satisfaction to tax service of Sub-district Pak Khat Municipality, Pak Khat District, Buengkan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis objectives of this study were (1)to study taxpayers’ satisfaction to tax service of sub-district Pak Khat municipality, Pak Khat district, Buengkan province. (2) to study dependency between personnel aspects to taxpayers’ satisfaction to tax service of sub-district Pak Khat municipality, Pak Khat district, Buengkan province. (2)to propose the efficient tax services guideline for sub-district Pak Khat municipality. The population consisted of 435 property taxpayers and local maintenance and signboard taxpayers of sub-district Pak Khat municipality, Pak Khat district, Buengkan province for the year 2017. The sample of 210 respondents calculated by Taro Yamane’s formula were employed for this study with systematic random sampling. The data collection tool was a questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi square. The result of the study were as follows: (1) the satisfaction of taxpayers to tax services of Sub-district Pak Khat municipality in overall were at high. (2) taxpayers’ satisfaction were depend on age and occupancy, while gender, education level and revenue aspects were not related to taxpayers’ satisfaction at a significance level of 0.05. (3) the guidelines to efficient tax services improvement were to reduce service processes, add more service location signboards, expanding parking areas, increase more off-site services and provide an online channelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158818.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons