Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11974
Title: | ความพึงพอใจของผู้เสียภาษีต่อการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตำบลปากคาด อำเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬ |
Other Titles: | Taxpayers’ satisfaction to tax service of Sub-district Pak Khat Municipality, Pak Khat District, Buengkan Province |
Authors: | นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ ศรีประกอบ พุทธวงศ์, 2509- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ |
Keywords: | เทศบาลตำบลปากคาด--ความพอใจของผู้ใช้บริการ เทศบาลตำบล--ไทย--บึงกาฬ--ความพอใจของผู้ใช้บริการ การจัดเก็บภาษี--ไทย ผู้เสียภาษี--ไทย การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี |
Issue Date: | 2560 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความพึงพอใจในบริการจัดเก็บภาษีของ เทศบาลตําบลปากคาด อําเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬ (2) ความสัมพันธ์ระหวางปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด อําเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬ (3) แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด จังหวัดบึงกาฬ ให้สอดคล้องกบความต้องการของผู้เสียภาษีต่อไป ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ บุคคลที่อยูในข่ายเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินภาษี บํารุงท้องที่และภาษีป้าย ประจําปี 2560 ของเทศบาลตําบลปากคาด อําเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬ จํานวน 439 คน ตัวอย่างได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการคํานวณของทาโร่ ยามาเน่ ได้จํานวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า (1) ปัจจัยการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านผู้ให้บริการอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านสิ่งอํานวยความสะดวกอยู่ในระดับ มาก และด้านสถานที่การให้บริการ และด้านสิ่งอํานวยความสะดวก อยูในระดับปานกลาง (2)ความสัมพันธ์ระหวางปัจจัยส่วนบุคคลกบปัจจัยการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด พบวา่ อายุและอาชีพ มีความสัมพันธ์กบปัจจัย ั การ ให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด ส่วนด้านเพศ ระดับการศึกษา และรายได้ไม่มี ความสัมพันธ์กบั ปัจจัยการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาดอย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติ (3)แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการจัดเก็บภาษีของเทศบาลตําบลปากคาด ได้แก่ ควรเพิ่มความถี่ในการจัดเก็บภาษีนอกสถานที่ ควรลดขั้นตอนการดําเนินงาน เพิ่มป้ าย ประชาสัมพันธ์บอกจุดบริการให้ชัดเจน ควรจัดทําโครงการจัดเก็บภาษีนอกสถานที่อย่างต่อเนื่อง และเพิ่มช่องทางการยื่นแบบ และเสียภาษีทางอินเทอร์เน็ต |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11974 |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
158818.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License