กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12003
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรีย์ เข็มทอง | th_TH |
dc.contributor.author | รัตนาวดี คีรีวรรณ์, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-17T07:22:13Z | - |
dc.date.available | 2024-05-17T07:22:13Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12003 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤดิกรรมในการท่องเที่ยวเชิงศาสนาของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดสิงห์บุรี และ (2) แรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงศาสนาของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดสิงห์บุรี การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาท่องเที่ยวในจังหวัดสิงห์บุรี จำนวน 84,089 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร ทาโร ยามาเน่โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิดิที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบเปรียบเทียบ เป็นรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ่ ผลการศึกษา พบว่า (1) พฤติกรรมการท่องเที่ยวส่วนใหญ่เดินทางมาท่องเที่ยวด้วยรถยนต์ส่วนตัว พร้อมกับครอบครัว โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อกราบไหว้สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์เคยมาท่องเที่ยว ประมาณ 2-3 ครั้ง และเห็นด้วยกับการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของวัดมีการแนะนำชักชวนให้เพื่อน และคนรู้จักมาท่องเที่ยว ส่วนใหญ่มาเที่ยวในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ลักษณะมาเช้า กลับเย็น หรือ ท่องเที่ยว 1 วัน สำหรับนักท่องเที่ยวที่ค้างคืนมักพักตามสถานที่ที่ทางวัดจัดให้ ส่วนใหญ่ไม่ได้เช่าบูชาวัตถุมงคล (2) แรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงศาสนาของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดสิงห์บุรี ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าแรงจูงใจ ด้านสถานที่ท่องเที่ยวอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านจิตวิทยาความเชื่อในศาสนา ด้านสถานภาพและเกียรติยศชื่อเสียง และสุดท้าย ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงศาสนาตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยว--แง่ศาสนา--พุทธศาสนา | th_TH |
dc.subject | วัดกับการท่องเที่ยว | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยว--ไทย--สิงห์บุรี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมและแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงศาสนาของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดสิงห์บุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Behavior and motives for religious tourism of Thai tourists in Sing Buri Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were: (1) to study the religious tourism behavior of Thai tourists in Sing Buri Province; and (2) to examine their motives to go to Sing Buri for religious tourism. This was a survey research. The study population was 184,089 Thai tourists who went to Sing Buri, out of which a sample size of 400, was selected using the Taro Yamane method and purposive sampling. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using percentage, mean, standard deviation, t test, ANOVA and Scheffe’s multiple comparison test. The results showed that (1) the majority of tourists surveyed came to Sing Buri by private car with their families and their primary objective was to worship at sacred sites. Most had gone to Sing Buri 2-3 times before. They agreed that Buddhist temples should organize religious activities for tourists and the majority had invited their friends and acquaintances to go to Sing Buri. Most of the tourists went there on weekends or holidays, usually for day trips. Of those who stayed overnight, the majority stayed at accommodations provided by a Buddhist temple. Most of the samples said they did not purchase sacred items for worship in Sing Buri. (2)Overall, the tourists surveyed had a high level of motives for going to Sing Buri for religious tourism. Considering the different kinds of motives, the greatest motives was the tourism destinations, followed by faith, reputation of the temples and religious tourism activities, in that order. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
153229.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.79 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License