กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12004
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาวิน ชินะโชติ | th_TH |
dc.contributor.author | รัมภีภรณ์ จันทร์เพ็ง, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-17T07:28:07Z | - |
dc.date.available | 2024-05-17T07:28:07Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12004 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับพฤดิกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของพนักงานธนาการออมสินเขตสุราษฎร์ธานี (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การ ความยุติธรรมในองค์การความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานธนาคารออมสินเขตสุราษฎร์ธานี และ (3) ปัจจัยความผูกพันต่อองค์การ ความยุธรรมในองค์กร ความพึงพอใจในการทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของพนักงานธนาคารออมสินเขตสุราษฎร์ธานี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานธนาคารออมสินที่ปฏิบัติงานอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตสุราษฎร์ธานี ซึ่งมีสาขาที่เปิดให้บริการรวม 14 สาขาจำนวน 210 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของ เครซี่ แอน มอร์แกน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 136 ตัวอย่าง โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามสาขา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของพนักงานธนาคารออมสินเขตสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานธนาคาร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ค้นความผูกพันต่อองค์การอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ค้านความพึงพอใจในการทำงาน และค้านความยุติธรรมในองค์การ และ (3) ปัจจัยความผูกพันต่อองค์การ ความยุติธรรมในองค์การ ความพึงพอใจในการทำงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่คืต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยความยุติธรรมในองค์การส่งผลทางบวกสูงที่สุด รองลงมา ความพึงพอใจในการทำงาน และความผูกพันต่อองค์การ มีค่าเท่ากับ 0.707 โดยพยากรณ์ทั้ง 3 ตัวสามารถพยากรณ์พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานธนาคารออมสินเขตสุราษฎร์ธานี ได้ร้อยละ 49.90 มีความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ์ 0.229 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ธนาคารออมสิน--พนักงาน | th_TH |
dc.subject | พนักงานธนาคาร | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมองค์การ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของพนักงานธนาคารออมสินในจังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting organizational citizenship behavior of employees in the Government Savings Bank, Surat Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the study were: (1) to study the level of Government Savings Bank employees’ organizational citizenship behavior in Surat Thani province; (2) to study the level of organizational commitment, justice, working satisfaction; and (3) to study the effect of organizational commitment, justice and working satisfaction factors on Government Savings Bank employees’ organizational citizenship behavior in Surat Thani province. The study was a survey research. Total population was 210 Government Savings Bank employees working at 14 branches in Surat Thani province. The 136 samples computed by Krejcie and Morgan’s formula and used stratified random sampling method. The data was collected by using a questionnaire and was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis. The results showed that: (1) overall the level of Government Savings Bank employees’ organizational citizenship behavior in Surat Thani province was high; (2) overall the level of organizational commitment was high, while organizational commitment was the highest followed by working satisfaction and justice respectively; and (3) organizational commitment, working satisfaction and justice factors related positively to the organizational citizenship behavior at 0.05 statistical significance. The justice affected positively at the highest level followed by working satisfaction and organizational commitment respectively at 0.070. All 3 factors forecasted Government Savings Bank employees’ organizational citizenship behavior in Surat Thani province at 49.90 percent with 0.229 error. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
153516.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.51 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License