Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจth_TH
dc.contributor.authorระเบียบรัตน์ มณีศรีบุษราคัม, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-05-17T07:34:05Z-
dc.date.available2024-05-17T07:34:05Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12005en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการซ่อมแอร์รถยนต์ บางปลากดแอร์ จังหวัดสมุทรปราการ (2) ประเภทการให้บริการซ่อมระบบแอร์รถยนต์ ของศูนย์บริการซ่อมแอร์รถยนต์ บางปลากดแอร์ จังหวัดสมุทรปรากร ที่มีผลต่อคุณภาพการให้บริการ และ (3) ระดับคุณภาพการให้บริการของ ศูนย์บริการซ่อมแอร์รถยนต์ บางปลากดแอร์ จังหวัดสมุทรปราการ การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือลูกค้าที่นำรถเข้ารับบริการ จำนวน 10,080 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยการคำนวณ จากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่ ระดับความ เชื่อมั่นร้อยละ 95 ใช้ความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้ขนาดตัวอย่าง 400 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยใช้วิธีแอลเอสดี ผลการศึกษาพบว่า (1) ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้รับบริการต่อคุณภาพการให้บริการ พบว่า ด้านอายุ อาชีพ ระดับการศึกษารายได้เฉลี่ยต่อเดือน สิทธิการครอบครองรถที่แตกต่างกันมีผลต่อคุณภาพการให้บริการแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วน ด้านเพศ และสถานภาพที่แตกต่างกัน มีผลต่อคุณภาพการให้บริการไม่แตกต่างกัน (2) ประเภทของการซ่อมระบบแอร์รถยนต์ที่ตกต่างกัน มีผลต่อคุณภาพการให้บริการ ค้านลักษณะทางกายภาพ ด้านการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านความน่าเชื่อถือ ด้านความเชื่อมั่น ด้านการเข้าใจ รู้จัก รับรู้ ความต้องการของผู้รับบริการมีผลต่อคุณภาพการให้บริการ ไม่แตกต่างกันและ (3) ระดับคุณภาพกรให้บริการด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการด้านความเชื่อมั่น ด้านการเข้าใจ รู้จัก รับรู้ ความต้องการของผู้รับบริการ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectศูนย์บริการซ่อมแอร์รถยนต์ บางปลากดแอร์--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectรถยนต์--การปรับอากาศ--การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการของ ศูนย์บริการซ่อมแอร์รถยนต์ บางปลากดแอร์ จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeService quality of car air-conditioner repair service center, Bang Plakot air-conditioner, Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to study (1) demographic characteristic affecting service quality of Car Air-Conditioner Repair Service Center, Bang PlaKot Air-Conditioner,SamutPrakan Province; (2) type of car air-conditioner system repair service of Car Air-Conditioner Repair Service Center, Bang PlaKot Air-Conditioner, SamutPrakan Province, affecting service quality; and (3) level of service quality of Car Air-Conditioner Repair Service Center, Bang PlaKot Air-Conditioner, SamutPrakan Province. This study is survey research using 10,080 customers who drove their cars for use of service as population. The sample size was determined by calculation from Taro Yamane’s Formula at 95% of confidence level using 0.05 of error, and 400 persons of sample size was acquired using Convenience Sampling Method. Data was collected using questionnaire as data collection instrument and analyzed using statistics consisting of frequency, percentage, average, standard deviation, T-Test, One-Way ANOVA, and Pairwise comparisons using the LSD Method. The results indicated that (1) the characteristic of demography of service users toward service quality indicated that different age, occupation, educational level, monthly income, and possessory right in the car, differently affected service quality at 0.05 of statistical significance level; and different sex and status indifferently affected service quality; (2) different type of car air-conditioner system repair differently affected service quality in tangible and responsiveness at 0.05 of statistical significance level; and reliability, assurance, and empathy indifferently affected service users; and (3) level of service quality in tangible, reliability, responsiveness, assurance, and empathy was generally in maximum level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154963.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons