Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorรัชนาท บัวเงิน, 2539-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-05-17T08:01:45Z-
dc.date.available2024-05-17T08:01:45Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12007en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคาดหวังและระดับการรับรู้คุณภาพบริการของสมาชิกที่มีต่อบริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลพบุรี จำกัด 2) ศึกษาคุณภาพการบริการ โดยการเปรียบเทียบความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพบริการของสมาชิกที่มีต่อบริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลพบุรี จำกัด 3) เปรียบเทียบความคาดหวังคุณภาพบริการของสมาชิกที่มีต่อบริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลพบุรี จำกด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 4) เปรียบเทียบการรับรู้คุณภาพบริการของ สมาชิกที่มีต่อบริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลพบุรี จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลพบุรี จำกัด จำนวน 9,744 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของทาโร ยามาเน่ จำนวน 385 คน และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามเพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี ผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษา พบว่า 1) สมาชิกมีความคาดหวังคุณภาพบริการของสหกรณ์อยู่ในระดับมาก และมีการรับรู้คุณภาพบริการของสหกรณ์อยู่ในระดับมากที่สุด 2) คุณภาพการบริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลพบุรี จำกัด โดยภาพรวมและในมิติความเป็นรูปธรรมของการบริการ มิติการตอบสนอง ต่อสมาชิก มิติการทำให้สมาชิกเกิดความเชื่อมั่น และมิติความเอาใจใส่สมาชิก อยู่ในระดับดีมาก ส่วนคุณภาพการบริการในมิติความน่าเชื่อถือและไว้วางใจได้ อยู่ในระดับดี 3) สมาชิกที่มี เพศ อายุ รายได้ต่อเดือน และระดับการศึกษาแตกต่างกน มีความคาดหวังต่อคุณภาพการบริการของสหกรณ์ไม่แตกต่างกัน ส่วนสมาชิกที่มีระดับตำแหน่งแตกต่างกัน มีความคาดหวังต่อคุณภาพการบริการของสหกรณ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 4) สมาชิกที่มีอายุ รายได้ต่อเดือน และระดับ การศึกษาแตกต่างกัน มีการรับรู้ต่อคุณภาพการบริการของสหกรณ์ไม่แตกต่างกัน ส่วนสมาชิกที่มีเพศ และระดับตำแหน่งแตกต่างกัน มีการรับรู้ต่อคุณภาพการบริการของสหกรณ์แตกต่างกนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์ครู--ไทย--ลพบุรีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์--การจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleคุณภาพการบริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลพบุรี จำกัดth_TH
dc.title.alternativeService quality of Lopburi Teacher Saving and Credit Cooperatives Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to study the level of expectations and perceptions on service quality of members toward the services of Lopburi Teacher Saving and Credit Cooperatives Limited; 2) to compare the members' expectations and perceptions of service quality toward the services of Lopburi Teachers Saving Cooperatives Limited; 3) to compare of members' expectations of service quality toward the services of Lopburi Teachers Saving Cooperatives Limited, classified by personal factors; and 4) to comparison of members' perceptions of service quality toward the services of Lopburi Teachers Saving Cooperatives Limited, classified by personal factors. The population of this survey research was 9,744 members of Lopburi Teacher Saving and Credit Cooperatives Limited. The sample size was 385 members, determined by using Taro Yamane’s formula, using multi-stage random sampling. A constructed questionnaire was used for data collection. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA and Least Significant Difference. The results of this study showed that 1) the level of the expectations of the cooperative service quality was at a high level, and the perceptions of the Cooperative service quality was at the highest level; 2) the overall service quality of Lopburi Teacher Saving and Credit Cooperatives Limited on the aspect of tangibility, responsiveness, assurance and empathy were at very good level, while the perceptions of service quality on the aspect of reliability was at a good level; 3) the members with different genders, ages, monthly incomes and education levels had no difference in the expectations on service quality, while the members with different position levels had different levels of the expectations on service quality with a statistical significance at 0.05; and 4) the members with different ages, monthly incomes and education levels had no difference in the perceptions on service quality, while the member with different genders and position levels had different levels of the perceptions on the service quality with a statistical significance at 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163300.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons