Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorประพนธ์ เจียรกูล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวัชระ เสือดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorถาวร พาพรหม, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-28T07:12:55Z-
dc.date.available2022-08-28T07:12:55Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1201-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการสารสนเทศในการพัฒนาศักยภาพ การทำงานของบุคลากรกรมชลประทาน และ 2) เปรียบเทียบความต้องการสารสนเทศในการ พัฒนาศักยภาพการทำงานของบุคลากรกรมชลประทาน จำแนกดามเพศ ช่วงอายุ ระดับการศึกษา และดำแหน่งงานการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใชัในการวิจัยครั้งนึ้คือ ข้าราชการ ถูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ ของกรมชลประทาน จำนวน 27,815 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 379 คนโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมึอที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาดรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยใช้สถิติการทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรกรมชลประทานมีความต้องการสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงานโดยรวมในระดับปานกลาง จำแนกเป็นรายด้านพบว่า ความต้องการด้านเนื้อหาได้แก่ ด้านสาธารณสุข ด้านสังคม ด้านการบริหารงานและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีความต้องการในระดับมากทั้ง 3 ด้าน ส่วนความต้องการด้านรูปแบบ ได้แก่ ฐานข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต คู่มือประกอบการปฎิบัติงาน หนังสืออ้างอิง/ดำราและวารสารในสายงาน และชุดการเรียนรัูสำเรีจรูปด้วยคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย มีความต้องการในระดับมาก (2) เปรียบเทียบความ ต้องการสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงานจำแนกตามเพศ ช่วงอายุ ระดับการศึกษา และ ดำแหน่งงานพบว่าบุคลากรที่มีเพศต่างกันมีความต้องการสารสนเทศต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ ส่วนบุคลากรที่มีช่วงอายุ ระดับการศึกษาและดำแหน่งงานต่างกัน มีความต้องการ สารสนเทศไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.319-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมชลประทาน--ข้าราชการ--ความต้องการการฝึกอบรมth_TH
dc.titleความต้องการสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงานของบุคลากรกรมชลประทานth_TH
dc.title.alternativeInformation needs to develop capacity of the Royal Irrigation Department Personnelth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.319-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed 1) to study information needs to develop the capacity of the Royal Irrigation Department personnel; 2) to compare information needs develop the capacity of the Royal Irrigation Department personnel classified by gender, span of age, educational level and job position. This research was a survey study and the population consisted of 27,815 government officers and staff in the Royal Irrigation Department. The sample consisted of 379 the Royal Irrigation Department personnel chosen through stratified sampling. The instruments used were questionnaires. The statistics used in this study were percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. The; research findings were summarized as follows. 1) information needs by the RoyaI Irrigation Department personnel were at the medium level when classified each aspect found that content needs in the public health, social, administration and human resource development were at the high level” Information needs in the information format were databases via internet, instruction manuals, reference books text books, and journals, and multimedia courseware. These were also at the high level. 2. Comparing information needs of the Royal Irrigation Department personnel by gender, span of age, educational level and job position that by gender there was significantly different, but by span of age, educational level and job position there was no statistical significanceen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (5).pdfเอกสารฉบับเต็ม17.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons