Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorพระเมธา อรรถวิโรจน์กุล, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-24T03:22:12Z-
dc.date.available2024-05-24T03:22:12Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12027en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ 2) อุปสรรคในการดำเนินงานการประชาสัมพันธ์ของวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ และ 3) เสนอแนะการพัฒนาการประชาสัมพันธ์ของวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักมีจำนวน 5 ท่าน ได้แก่ เจ้าอาวาสวัดมังกรกมราวาส เจ้าอาวาสวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ ตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ 1 รูป 2 ท่าน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การประชาสัมพันธ์ของวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ ดำเนินการโดยฝ่ายประชาสัมพันธ์ที่เป็นทั้งพระสงฆ์และฆราวาส โดยมีเป้าหมายเป็นศูนย์กลางประชาสัมพันธ์พุทธศาสนามหายานในประเทศไทย และมีวัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่คำสอนและการปฏิบัติ รวมทั้งจุดเด่นของของคณะสงฆ์จีนนิกายมหายานให้กว้างขวาง และมีกระบวนการประชาสัมพันธ์ที่ประกอบด้วย (1) การวิจัย-การรับฟัง มีการดำเนินงานอย่างไม่เป็นทางการ ได้แก่ การรับฟังปัญหาผู้มาทำบุญและมาเยี่ยมชมวัด (2) การวางแผน-การตัดสินใจ โดยใช้แผนงานของวัดเป็นแผนประชาสัมพันธ์ (3) การสื่อสาร โดยมีสื่อในการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ วารสารธรรมจริยา โบรชัวร์ ป้ายไวนิล เว็บไซต์ วิทยุชุมชน ยูทูป สื่อกิจกรรมเพื่อสังคม กลุ่มเป้าหมายหลักในการประชาสัมพันธ์ คือ พุทธศาสนิกชนฝ่ายมหายาน (4) การประเมิน วัดยังไม่มีการประเมินอย่างเป็นทางการ 2) อุปสรรคในการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของวัดที่สำคัญ คือ บุคลากรไม่มีความรู้ ประสบการณ์ด้านการประชาสัมพันธ์ ทำให้ไม่สามารถดำเนินงานตามกระบวน การประชาสัมพันธ์ทั้ง 4 ขั้นตอนได้ 3) ข้อเสนอแนะการประชาสัมพันธ์ของวัด คือ จัดหาบุคลากรที่มีความรู้ด้านการประชาสัมพันธ์มาปฏิบัติงานตามขั้นตอนการประชาสัมพันธ์ จัดทำแผนประชาสัมพันธ์ และแผนกลยุทธ์ประชาสัมพันธ์ แต่งตั้งที่ปรึกษาด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อให้คำปรึกษาด้านแผนกลยุทธ์และการประเมินการประชาสัมพันธ์ของวัดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์--การประชาสัมพันธ์th_TH
dc.titleการประชาสัมพันธ์ของวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์th_TH
dc.title.alternativePublic relations of Wat Boromrajakanjanapisek Anusorn Rungsan Sect Chinese Buddhist Templeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the public relations process used at Wat Boromrajakanjanapisek Anusorn Rungsan Sect Chinese Buddhist Temple; 2) obstacles to the temple's public relations work; and 3) recommendations for improving public relations at the temple. This was a qualitative research based on in-depth interviews with 5 key informants, chosen through purposive sampling, namely the abbot of Wat Mangkornkammarawas, the abbot of Wat Boromrajakanjanapisek Anusorn Rungsan Sect Chinese Buddhist Temple, the director of public relations at Wat Boromrajakanjanapisek Anusorn Rungsan Sect Chinese Buddhist Temple, and 2 public relations personnel at Wat Boromrajakanjanapisek Anusorn Rungsan Sect Chinese Buddhist Temple. The data collection tool was an interview form. Data were analyzed using descriptive analysis. The results showed that 1) public relations at Wat Boromrajakanjanapisek Anusorn Rungsan Sect Chinese Buddhist Temple were carried out by a public relations division staffed by both monks and lay people. The goal of the division was to be the center for public relations of Mahayana Buddhism in Thailand. The division's objectives were to publicize the teachings, practices, and outstanding features of Chinese Mahayana Buddhism. The public relations process consisted of (a) research-listening, which was done informally, consisting of listening to the problems of people who came to visit or make merit at the temple; (b) planning-decision-making, which was based on the temple's overall work plan; (c) communications, through the media of the Dhammajiriya journal, brochures, vinyl signs, the temple's website, community radio, Youtube, and activities for society, the major target audience being Mahayana Buddhists; and (d) evaluation, for which at present the temple does not use any formal kind of evaluation. 2) The major obstacle to the temple's public relations work is that the personnel lack knowledge and experience, so they cannot fully implement all 4 public relations steps. 3) Recommendations are for the temple to recruit knowledgeable public relations personnel, to make a public relations plan and strategic plans, and to appoint a public relations advisor to give advice on strategic plans and evaluationen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143918.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons