Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1202
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ วัฒนาพงษากุล | th_TH |
dc.contributor.author | วิรัช สงเคราะห์, 2508- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-28T07:23:13Z | - |
dc.date.available | 2022-08-28T07:23:13Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1202 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติพระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทร วาทิน) และ (2) รูปแบบและหลักการขับเสภาทางพระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและแบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านขับเสภา 4 ท่าน การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า 1) พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) เป็นนักดนตรีไทยที่รับราชการในราชสำนักตั้งแต่ปลายรัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลที่ 7 ผลงานโดดเด่นของพระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) คือปรับปรุงการขับร้องเพลงไทยให้ละเมียดละไม ไพเราะมากขึ้น นอกจากนี้ยังได้พัฒนาทางขับเสภาให้มีลีลาชั้นเชิงที่แยบยล แสดงอารมณ์และความรู้สึก และสะท้อนถึงความประณีตในการขับเสภา อีกทั้งมีวิธีการและระเบียบปฏิบัติในการขับเสภาที่ชัดเจนลงตัว 2) รูปแบบการขับเสภาของพระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) พบวาทำนองเกริ่นเสภาที่เป็นทำนองเอื้อนสำหรับการขึ้นต้นมี 4 แบบคือ เกริ่นอย่างยาว 2 แบบ เกริ่นอย่างกลาง 1 แบบเกริ่นอย่างสั้น 1 แบบ ส่วนทำนองหลักที่ใช้ในการขับเสภาทั้งหมดมี 7 ทำนองคือ ทำนองยืนทำนองเปลี่ยน ทำนองครวญต้นบท ทำนองหวน ทำนองยอด ทำนองผัน และทำนองครวญท้ายบท สำหรับหลักการขับเสภาทางพระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) พบว่าหลักการขับเสภาที่ดีควรมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้คือ เสียง คำขับ การเอื้อน จังหวะ การหายใจ การสร้างอารมณ์ และความประณีต ซึ่งองค์ประกอบในการขับเสภาทุกองค์ประกอบดังกล่าวนี้ผู้สนใจเรียนขับเสภาต้องหมั่นศึกษา และฝึกฝนต่อเนื่องจนเกิดความชำนาญในที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.121 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน), 2409-2492 | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เสภา | th_TH |
dc.title | รูปแบบการขับเสภาทางพระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) | th_TH |
dc.title.alternative | Sepa singing style of Prayasanohduriyang (Cham Sundaravadin) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.121 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to investigate (1) the biography of Prayasanohduriyang (Cham Sundaravadin) and (2) the form and principles of the Sepa singing style named after him. This was a qualitative research. Data were gathered using a non-participatory observation form and an unstructured interview form. The 4 key informants were 4 contemporary masters of Sepa singing. Data were analyzed through descriptive analysis. The findings showed that Prayasanohduriyang (his official title; he was born Cham Sundaravadin) worked as a musician in the royal court from the end of the reign of King Rama IV up to the reign of King Rama VII. He is best known for refining the vocal techniques used in traditional Thai singing to make them softer, milder, and more melodious. He developed a very intricate, ingenious and graceful style of Sepa singing that could convey feeling and emotional expression with great finesse. He defined a clear pattern and method of Sepa singing style that made sense to others. Analysis of the forms of Sepa singing developed by Prayasanohduriyang showed that to introduce a song, he used one of 4 different types of melismatic prelude. Two were long preludes, 1 was medium and 1 was short. There were 7 principle melodies that made up the main part of each Sepa song. These are called Tamnong Yuen (“standing melody”), Tamnong Plian (“changing melody”), Tamnong Kruan Tonbot (“beginning lament”), Tamnong Huan (“refrain”), Tamnong Yod (“crescendo”), Tamnong Pan (“turning melody”) and Tamnong Kruan Taibot (“ending lament”). As for the principles of Prayasanohduriyang’s Sepa singing, he stated that good rendition requires good voice quality, lyrics, mastery of melisma, rhythm, breathing techniques, expressiveness and delicacy in delivery. He advised that anyone who wants to sing Sepa must study hard and practice continuously to achieve expertise. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปัณฉัตร หมอยาดี | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (6).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License