Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์th_TH
dc.contributor.authorพีระพล บัวทอง, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-24T04:04:56Z-
dc.date.available2024-05-24T04:04:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12030en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การเปิดรับสื่อ (2) การรับรู้ (3) ทัศนคติ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อกับการรับรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์และ (5) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อกับทัศนคติที่มีต่อการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 400 ราย โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยเป็นแบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างเปิดรับสื่อเกี่ยวกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ผ่านช่องทางโทรทัศน์ มากที่สุด โดยเปิดรับเฉลี่ยเดือนละ 1-2 ครั้ง (2) กลุ่มตัวอย่างรับรู้เนื้อหาเกี่ยวกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในระดับปานกลาง (3) กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติต่อโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในระดับไม่แน่ใจ (4) การเปิดรับสื่อของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานีมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานีอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และ (5) การเปิดรับสื่อของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานีมีความสัมพันธ์กับทัศนคติที่มีต่อโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.subjectโรงไฟฟ้านิวเคลียร์th_TH
dc.titleการเปิดรับสื่อการรับรู้และทัศนคติที่มีต่อการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeUbon Ratchathani citizens' exposure to media, awareness, and attitude towards the project to build a Nuclear Power Plantth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) exposure to media; (2) awareness; (3) attitudes; (4) the relationship between exposure to media and awareness about the project to build a nuclear power plant; and (5) the relationship between exposure to media and attitude about the project to build a nuclear power plant of people in Ubon Ratchathani. This was a survey research. The sample population consisted of 400 citizens residing in Ubon Ratchathani province, chosen through multi-level sampling. Data were collected using a questionnaire and statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and Chi Square. The results showed that: (1) The medium through which the samples received the most news about the nuclear power plant project was television. They were exposed to news about it on average one or two times a month. (2) The samples had a medium level of awareness about the project. (3) The majority of samples' attitude about the project was "uncertain." (4) Exposure to media was related to awareness of the project to a statistically significant degree (p<0.05). (5) Exposure to media was related to attitude about the project to a statistically significant degree (p<0.05)en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130359.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons