Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12032
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัสวลี นิติเกษตรสุนทร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทรภร นิยมทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-24T06:39:31Z-
dc.date.available2024-05-24T06:39:31Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12032-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์ 2) พฤติกรรมการเปิดรับสื่อของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3) ความต้องการรับรู้ ข่าวสารจากสื่อประชาสัมพันธ์และ 4) ความพึงพอใจในสื่อประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ- สุรินทร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสม โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ มีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้บริหารงานด้านการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ จำนวน 3 คน ได้มาโดยการเลือกแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา เชิงพรรณนา การวิจัยเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จำนวน 269 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าสถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) กระบวนการการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ประกอบด้วย การแสวงหาข้อมูลและสำรวจกลุ่มเป้าหมาย การวางแผนการประชาสัมพันธ์ การ เลือกสื่อประชาสัมพันธ์ การนำแผนประชาสัมพันธ์ไปปฏิบัติการเผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมาย และการ ประเมินผลประชาสัมพันธ์ 2) สื่อประชาสัมพันธ์ที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับมากที่สุดคือ วิทยุ กระจายเสียง โดยเนื้อหาที่เปิดรับมากที่สุดคือ ข่าวสารประชาสัมพันธ์ ส่วนใหญ่เปิดรับสื่อ ประชาสัมพันธ์ ในช่วงเวลา 08.30-12.00 น. และเฉลี่ย 5 ครั้งต่อสัปดาห์ขึ้นไป 3) กลุ่มตัวอย่างมี ความต้องการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อประชาสัมพันธ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความ ต้องการรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านวิชาการ กิจกรรมของมหาวิทยาลัย และการประชาสัมพันธ์ ตามลำดับ 4) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจด้านสื่อประชาสัมพันธ์ และด้านเนื้อหาในภาพรวมอยู่ใน ระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อประชาสัมพันธ์th_TH
dc.subjectบุคลากรทางการศึกษา--ไทย--สุรินทร์th_TH
dc.titleการเปิดรับความพึงพอใจและความต้องการสื่อประชาสัมพันธ์ของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeExposure to,satisfaction with and needs for public relations media of personnel of Surindra Rajabhat Universityth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the public relations process used by Surindra Rajabhat University; 2) Surindra Rajabhat University personnel's exposure to the university's public relations media; 3) their needs for public relations media from the university; and 4) their satisfaction with the university's public relations media. This was a mixed method research. For the qualitative portion, there were 3 key informants, chosen through purposive sampling, consisting of public relations administrators at Surindra Rajabhat University. Research instruments were interview forms. Data was analyzed using descriptive analysis. For the quantitative portion, the sample population, chosen through simple random sampling, consisted of 269 employees of Surindra Rajabhat University. Research instruments were a questionnaire. Data was statistically analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1) the public relations process used at Surindra Rajabhat University comprised searching for information and surveying the target groups, public relations planning, selecting public relations media, implementing the plan by of disseminating public relations messages to the target audience, and evaluating the effect . 2) The public relations medium that the sample population was exposed to the most was radio. The content they listened to the most was public relations news. They were exposed to the university's public relations media most often from 8:30 - 12:00, 5 times a week or more in average. 3) Overall, the university personnel had a high level of needs for public relations media from the university. The content they wanted the most was academic news, followed by news about university activities, and general public relations messages respectively. 4) Overall, the personnel had a high level of satisfaction with Surindra Rajabhat University's public relations media and contenten_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149981.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons