Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1203
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มัลลิกา มัสอูดี | th_TH |
dc.contributor.author | วันลีย์ กระจ่างวี, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-28T07:33:21Z | - |
dc.date.available | 2022-08-28T07:33:21Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1203 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา(1) ความเป็นมาของคูขื่อหน้าในสมัยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 (2) บทบาทของคูขื่อหน้าที่มีต่อยุทธศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยาและ (3) สาเหตุในการขุดขยายคูขื่อหน้าในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาวิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ เอกสารการขุดค้นทางโบราณคดี แผนที่โบราณและแผนที่ดาวเทียม โดยศึกษาบทบาทของ “คูขื่อหน้า” ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 จนถึงสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา พ.ศ. 1893 –2133 การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า 1) “คูขื่อหน้า” คือ คูเมืองทางด้านทิศตะวันออกของตัวเมืองอยุธยาคูขื่อหน้าขุดขึ้นภายหลังการสถาปนากรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) โดยขุดแยกจากแม่น้้าลพบุรีบริเวณหัวรอทางด้านทิศเหนือลงมาบรรจบกับแม่น้้าเจ้าพระยาตรงบริเวณป้อมเพชรทางด้านทิศใต้ ภายหลังจากการขุดคูขื่อหน้าคูน้้าแห่งนี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินวิถีชีวิตของชาวกรุงศรีอยุธยา 2) คูขื่อหน้ามีบทบาทในด้านยุทธศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยาทั้งด้านการคมนาคม ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจและด้านการสงครามอย่างชัดเจน 3) สาเหตุของการขุดคูขื่อหน้า ในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา เนื่องจากเกิดสงครามระหว่างกรุงศรีอยุธยากับพม่าตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสงครามระหว่างกรุงศรีอยุธยากับเขมรในรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา และคูขื่อหน้าเป็นจุดอ่อนทางยุทธศาสตร์ในการป้องกันกองทัพข้าศึก ดังนั้นเมื่อเสร็จศึกพระยาละแวกสมเด็จพระมหาธรรมราชาจึงโปรดฯ ให้สร้างวังใหม่หรือวังจันทน์เป็นที่ประทับขององค์อุปราชและขุดขยายคูขื่อหน้าให้กว้าง 10 วาลึก 3 วา จากนั้นโปรดฯให้ย้ายกำแพงเมืองและป้อมปราการไปให้ชิดริมคูขื่อหน้า เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของคูขื่อหน้าในด้านยุทธศาสตร์ ทำให้กรุงศรีอยุธยามีความมั่นคงแข็งแรงและพร้อมรับมือข้าศึกที่จะยกเข้ามาประชิดกรุงศรีอยุธยาในเวลาต่อมา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.45 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | คูขื่อหน้า--ประวัติ | th_TH |
dc.subject | กำแพงเมือง--ประวัติ | th_TH |
dc.title | บทบาทของ "คูขื่อหน้า" ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 จนถึงสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา พ.ศ. 1893-2133 | th_TH |
dc.title.alternative | Role of Khu Kheu Na from The King Rama Thibodi I to The King Maha Dhramma Raja's Reigns, 1350-1590 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.45 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) the origin of the Khu Kheu Na in the reign of King Ramathibodi I; (2) the role of the Khu Kheu Na in the strategic defense of Ayutthaya; and (3) the reasons for expanding the Khu Kheu Na in the reign of King Dhammaraja. This was a qualitative research based on examination of historical documents, archeological dig documents, historical maps and satellite maps to study the role of the Khu Kheu Na from the reign of King Ramathibodi I to the reign of King Dhammaraja in 1350 - 1590 (B.E. 1893 - 2133). Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that: 1)The Khu Kheu Na is like a moat on the eastern side of the city of Ayutthaya. It was dug after the establishment of the city of Ayutthaya as the capitol of the Ayutthaya Kingdom by King Ramathibodi I. It forms a connection between the Lopburi River in the north (starting in the Hua Ro area of the city) down to the Chao Phraya River to the south of the city (in the Pompetch area). Once it was dug, the canal became a part of the way of life of the residents of Ayutthaya. 2) The Khu Kheu Na played a strategic role in Ayutthaya in terms of transportation, social strategy, economic strategy and military defense. 3) The reason for the expansion of the Khu Kheu Na under the reign of King Dhammaraja was that Ayutthaya was at war with Burma ever since the reign of King Maha Chakkraphat and also fought the Khmer empire under the reign of King Dhammaraja, and the Khu Kheu Na was found to be a weak point in the city’s defense. When the Battle of Phraya Lawaek ended, King Dhammaraja thus ordered a new palace built for the viceroy (the Chan Palace) and ordered to have the Khu Kheu Na widened to 20 meters wide and deepened to 6 meters deep. He then ordered to have the city wall and fort moved to the edge of the Khu Kheu Na to make it a better strategic defense position. This gave the city of Ayutthaya a stronger line of defense to withstand enemy attacks in the future. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (7).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License