Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12047
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรัญญา ปุณณวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | เมธัส คำจาด, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-27T07:51:56Z | - |
dc.date.available | 2024-05-27T07:51:56Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12047 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาออโตเมชันเซิร์ฟเวอร์ สำหรับการเพิ่มประสิทธิภาพข้อตกลงระดับการบริการตามแนวคิด CI/CD สาหรับ DevOps (2) วิเคราะห์ประสิทธิภาพออโตเมชันเซิร์ฟเวอร์ และ (3) ประเมินผลการใช้งานออโตเมชันเซิร์ฟเวอร์ วิธีการดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย (1) การติดตั้งและพัฒนาชุดทำงานออโตเมชันเซิร์ฟเวอร์ด้วยเครื่องมือเจ็นกิ้นและคำสั่งในรูปแบบไปป์ไลน์ และ (2) การทดสอบ วิเคราะห์ประสิทธิภาพโดยเจ็นกิ้นปลั๊กอินเชิงเวลา และประเมินผลการใช้งานโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิจัยครั้งนี้วัดจากปริมาณงาน จำนวน 86 งาน และประเมินประสิทธิภาพจากผู้ใช้งานจำนวน 61 คน ผลการวิจัยพบว่า อัตราส่วนความสำเร็จตามการสนับสนุนข้อตกลงระดับบริการ สำหรับการใช้งานออโตเมชันเซิร์ฟเวอร์และการทำงานแบบแมนนวล คิดเป็นร้อยละ 100 และ 1.16 ตามลำดับ ขนาดของซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทดสอบ กำหนดตามทฤษฎีโคโคโมเป็นขนาดกลาง ใหญ่ และเล็ก ได้อัตราส่วนความสำเร็จตามข้อตกลงระดับการบริการเป็นร้อยละ 52.33 41.86 และ 5.81 ตามลำดับ การประเมินผลการใช้งานออโตเมชันเซิร์ฟเวอร์ 3 ด้าน มีดังนี้ ด้านการใช้งานและประสิทธิภาพของออโตเมชันเซิร์ฟเวอร์อยู่ที่ระดับมาก (𝑋 ̅= 4.08 SD = 0.72) ด้านการลดระยะเวลาและขั้นตอนการทำงานจากการใช้งานอยู่ที่ระดับมาก (𝑋 ̅= 4.05 SD = 0.72) และด้านการทำงานตามเป้าหมายของข้อตกลงระดับการบริการอยู่ที่ระดับมาก (𝑋 ̅ = 3.94 SD = 0.69) ผลการประเมินการใช้งานโดยรวมอยู่ที่ระดับมาก (𝑋 ̅= 4.02 SD = 0.71) เช่นกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ | th_TH |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพข้อตกลงระดับการบริการด้วยออโตเมชันเซิร์ฟเวอร์ ตามแนวคิด CI/CD สำหรับ DevOps | th_TH |
dc.title.alternative | SLA enhancement using automation server based on CI/CD concept for DevOps | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to develop an automation server based on CI/CD concept for DevOps procedure to SLA enhancement; (2) to analyze the automation server performance; and (3) to evaluate the automation server usage. Research methods consisted of (1) the installation and development of the automation server using Jenkins tools and pipeline script; and (2) testing, analyzing performance by Jenkins Plugin with time processing, and evaluating the usage by average and standard deviation statistics. This research measured the workload of 86 jobs. The performance was evaluated from 61 users. The results showed that the success ratio to support the service level agreement for the deployment of the automation server and the manual procedure was 100% and 1.16%, respectively. The software size defined based on the COCOMO theory as medium, large, and small with the percentage of success regarding SLA of 52.33, 41.86 and 5.81, respectively. The evaluation of the automation server usage was presented in 3 aspects as follows: (1) the automation server usage and performance was at a high level (𝑋 ̅= 4.08 SD = 0.72), (2) the reduction of time consumption and working procedures was at a high level (𝑋 ̅= 4.05 SD = 0.72), and (3) the operation with achieving SLA criteria was at a high level (𝑋 ̅ = 3.94 SD = 0.69). The overall evaluation was also at a high level (𝑋 ̅= 4.02 SD = 0.71) | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน | th_TH |
Appears in Collections: | Science Tech - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License