Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1204
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสรวง พฤติกุล | th_TH |
dc.contributor.author | นัยนา สืบสาย, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-28T07:43:44Z | - |
dc.date.available | 2022-08-28T07:43:44Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1204 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการจัดการเอกสารการประกันคุณภาพการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย และ (2) ปัญหาการจัดการเอกสารการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ 5 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ภูเก็ต ยะลา สงขลา และสุราษฏร์ธานี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่เลือกคือ คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา และรายงานการประเมินตนเอง พ.ศ.2549 ถึง พ.ศ. 2553 รวมทั้งหมด จำนวน 50 เล่ม และ ผู้บริหารและบุคลากรที่รับผิดชอบงานการประกันคุณภาพระดับมหาวิทยาลัย จำนวน 15 คน เครื่องมือการวิจัยคือ แบบบันทึกข้อมูลและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการประมวลและเรียบเรียงสรุปประเด็นสำคัญด้วยการบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการจัดการเอกสารประกันคุณภาพ มีลักษณะ ดังนี้ คู่มือประกันคุณภาพ ส่วนใหญ่มีลักษณะ คือ จัดพิมพ์เป็นเอกสารเล่มปกพิมพ์สี่สีส่วนต้นมี คำนำ สารบัญ ส่วนเนื้อหา จำแนกเป็นบทครอบคลุมองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมิน และส่วนท้ายเป็นบรรณานุกรม นิยามคำศัพท์ ภาคผนวก รายงานการประเมินตนเอง มีลักษณะและส่วนประกอบเช่นเดียวกับคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา แต่ส่วนเนื้อหาเป็นรายงานผลตามองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ และส่วนท้าย ไม่มีบรรณานุกรม และภาคผนวก ด้านการจัดทำคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา และรายงานการประเมินตนเอง มีการจัดทำใหม่ทุกปี โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ส่วนรายงานการประเมินตนเอง จัดทำโดยมอบหมายแต่ละหน่วยงานจัดทำ เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับพันธกิจที่หน่วยรับผิดชอบ ด้านการจัดเก็บเอกสารมีลักษณะดังนี้ เอกสารทั้งสองประเภทจัดเรียงโดยแยกแต่ละประเภทก่อนแล้วเรียงตามลำดับปีที่จัดทำ ใส่กล่องหรือวางบนชั้นเอกสารโดยมีป้ายกำกับที่หน้ากล่องหรือชั้น ด้านการใช้งานเอกสาร ผู้ใช้ส่วนใหญ่ คือ ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบงานการประกันคุณภาพและใช้เพื่อการบริหารและการปฏิบัติงาน ไม่มีระบบการควบคุมเอกสาร ไม่มีการกำหนดอายุการเก็บเอกสารและไม่เคยมีการทำลายเอกสาร รวมทั้งไม่มีการมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบการดูแลรักษาเอกสารโดยเฉพาะ (2) ปัญหาอุปสรรคในการจัดการเอกสารประกันคุณภาพการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยราชภัฎภาคใต้ที่สำคัญคือ ไม่มีการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติ ไม่มีการกำหนดผู้รับผิดชอบการจัดการเอกสารประกันคุณภาพ ทำให้มีปัญหาการจัดทำ การจัดเก็บควบคุม ดูแลรักษา และการใช้งานเอกสาร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.129 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เอกสาร--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | ประกันคุณภาพการศึกษา | th_TH |
dc.title | การจัดการเอกสารการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ | th_TH |
dc.title.alternative | Management of educational quality assurance records of Rajaphat Universities in the Southern Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.129 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study 1) the current state of management of educational quality assurance records and 2) problems encountered in managing the educational quality assurance records of 5 Rajabhat Universities in the Southern Region: Nakhon Si Thammarat, Phuket, Yala, Songkhla and Surat Thani. This research was a quality research. The population/samples were 50 volumes of educational quality assurance manuals and self assessment reports printed from B.E. 2549 to B.E. 2553 and 15 managers and staff who took responsibility for university educational quality assurance. Data collecting forms and structured interview questions were the tools for data collection. Data were analyzed by summarization and described with narrative description. The research results were as follows: 1) the current state of management of educational quality assurance was that most of the educational quality assurance manuals were printed in book form with fourcolor cover. Front part was divided into preface and table of content, body part was divided into 3-7 chapters related to key performance indexes, assessment criteria and back part was divided into bibliography, reference terms, and an appendix/appendices. The characteristics and components of self assessment reports were similar to educational quality assurance manuals with the exception of the body part which was composed of 3-5 sections related to assessment reports, and no bibliography and an appendix/appendices at the back part. In terms of records creation, both educational quality assurance manuals and self assessment reports were created annually. Quality assurance manuals were created by the designated committees. Meanwhile, the creation of self assessment reports were assigned to those concerned faculties and offices. The ways to keep and control records were storing those records in chronological order and putting in boxes or placing on the shelves with labels. All records could be accessed by university administrators and those who have responsibility for quality assurance. No records retention periods were assigned and destruction of records had never happened. Furthermore, the management of educational quality assurance records was not defined and assigned to any person. 2) The major problems encountered on the management of educational quality assurance records among Rajabhat Universities in the Southern Region were there were no written policies and procedures for the management of educational quality assurance and no designated person to take this responsibility. As a result the problems encountered were in all aspects of records management from records creation, storage, control and use. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สาคร บุญดาว | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (8).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License