Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัณย์ ถนัดศิลปกุลth_TH
dc.contributor.authorธำรงค์ ชิวชาวนา, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-05-27T08:24:58Z-
dc.date.available2024-05-27T08:24:58Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12050en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของการมีกรรมการตรวจสอบของบริษัทมหาชนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (2) ศึกษาความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียน (3) ศึกษากฎหมาย กฎระเบียบ กฎบัตร ข้อบังคับ และแนวทางการปฏิบัติที่ดีของกรรมการตรวจสอบ (4) ศึกษาเปรียบเทียบความเป็นอิสระในการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบตามกฎหมาย กฎระเบียบ กฎบัตร ข้อบังคับและแนวทางการปฏิบัติที่ดีของสหรัฐอเมริกา ประเทศออสเตรเลีย และประเทศญี่ปุ่น เปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศไทย (5) วิเคราะห์ สรุป ปัญหาความเป็นอิสระของกรรมการตรวจสอบเพื่อเสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมต่อพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2535 งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารโดยศึกษาจากพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 กฎระเบียบ ข้อบังคับ กฎบัตร แนวทางปฏิบัติที่ดีในการกำกับดูแลกิจการของบริษัทมหาชน บทความ วารสาร วิทยานิพนธ์ ของประเทศไทยและต่างประเทศ โดยการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบซึ่งในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย ผู้วิจัยจะทำการสังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ จากเนื้อหาที่ได้จากการวิจัยเอกสารและการทบทวนวรรณกรรม เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการจัดทำข้อเสนอแนะแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายในเรื่องความเป็นอิสระของการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบของบริษัทมหาชนซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผลการศึกษาพบว่า (1) การแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบจะต้องมีความเป็นอิสระ เพื่อรักษาผลประโยชน์สาธารณะตามทฤษฎีผู้มีส่วนได้เสียของมหาชน โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะทำหน้าที่ตรวจสอบการจัดการของผู้บริหารของบริษัทมหาชน ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (2) การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการตรวจสอบจะต้องเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการบริหารของบริษัท (3) กระบวนการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบต้องแต่งตั้งจากผู้ที่ลงทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบ วิชาชีพในการกำกับของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ และสภาคณะกรรมการบริษัทไทย (4) จากการศึกษา เปรียบเทียบกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น พบว่าคณะกรรมการตรวจสอบในประเทศดังกล่าว สามารถทำหน้าที่อย่างอิสระได้โดยแยกการทำงานออกมา ไม่อยู่ภายใต้สังกัดของบริษัทจดทะเบียน (5) การแก้ไข พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัดนั้นเสนอให้แก้ไขบทนิยาม คุณสมบัติและกำหนดให้การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการตรวจสอบเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร กำหนดกระบวนการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบโดยต้องให้ผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งต้องลงทะเบียนวิชาชีพกรรมการตรวจสอบภายใต้สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสภาคณะกรรมการบริษัทไทย รวมทั้งการเพิ่มโทษกรรมการที่ปฎิบัติหน้าที่โดยมิชอบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2020.9en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณะกรรมการตรวจสอบ--การคัดเลือกและการแต่งตั้งth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535th_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535th_TH
dc.titleปัญหาความเป็นอิสระในการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบภายใต้ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535th_TH
dc.title.alternativeProblems on independence in appointing audit committees under The Securities and Exchange Act, B.E.2535 (1992) and The Public Limited Companies Act, B.E. 2535 (1992)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2020.9-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2020.9en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณทิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed (1) to study theories and concepts of the audit committee of the public company limited listed in the Stock Exchange, (2) to examine independence in duty performance of the audit committee in the registered companies, (3) to investigate laws, regulations, charters, stipulations, and good practices of the audit committee, (4) to compare independence in appointment of the audit committee based on laws, regulations, charters, stipulations, and good practices of the United States of America, Australia, and Japan compared with Thai laws, and (5) to analyze and summarize problems regarding independence of the audit committee to be proposed for amendment of the Securities and Exchange Act B.E. 1992, and Public Company Limited Act B.E. 1992 This research is a qualitative research conducted by the documentary research method, studying and collecting all related materials of the Securities and Exchange Act 1992, Public Limited Companies Act 1992, rules, regulations, charter, good practices and governance in public company, articles, journals, thesis regarding audit committee of Thailand and abroad. In this research, the author has systematically collected the information, using both analytical and synthetic methods to obtain information that can be a guideline in proposing an amendment to the law on the independence of the appointment of the audit committee of public companies listed in the stock exchange market. The findings revealed that (1) the appointment of the audit committee must be independent to maintain public benefits according to the theories regarding stakeholders in the public company limited provided that the audit committee would perform duties in auditing the management of executives in the public company limited listed in the Stock Exchange. (2) Duty performance of the audit committee shall be independent from the management and executive committee of the company. (3) The process of audit committee appointment shall be performed from those registered as a professional auditor under supervision of the Securities and Exchange Commission, Stock Exchange, and Thai Institute of Directors. (4) From comparative study of laws of the United States of America, Australia and Japan, the audit committee in such countries could perform their duties independently with function separated from and not being under supervision of the registered companies. (5) The amendment of the Securities and Exchange Act and Public Company Limited Act is proposed to include amendment of definitions, qualification and duty performance of the audit committee independent from the management. The process of the audit director appointment shall be specified that only persons registered as an auditing professional practitioner under the supervision of the Securities and Exchange Commission and the Stock Exchange of Thailand and the Thai Institute of Directors would be appointed. Additionally, penalty with the directors who unrightfully misconduct should be escalated.en_US
dc.contributor.coadvisorวิมาน กฤตพลวิมานth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม32.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons