Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1205
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมสรวง พฤติกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกฤติกา จิวาลักษณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทรา นาคทับทิม, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-28T07:54:18Z-
dc.date.available2022-08-28T07:54:18Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1205-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพเอกสารและการจัดการเอกสารสิ้นกระแสการ ปฏิบัติงานของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และ (2) พัฒนาระบบจัดการเอกสารสิ้นกระแสการ ปฏิบัติงานของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง คือ รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2475– พ.ศ.2550 จ านวน 1,051 เล่ม ระเบียบวาระการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2540- พ.ศ. 2550 จำนวน 160 เล่ม ผู้บังคับบัญชา จำนวน 2 คน และผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย คือ แบบบันทึกข้อมูลและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการบรรยายเชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการจัดการเอกสารสิ้นกระแสการปฏิบัติงานของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร มีดังนี้ รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2475-พ.ศ. 2550 และระเบียบวาระการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2540-พ.ศ.2550 ทั้งหมดจัดทำเป็ นเอกสารเล่มด้วยการเข้าเล่มให้มีขนาดที่เหมาะสม ที่หน้าปกและสันปกพิมพ์ชื่อเรื่อง ครั้งที่และปี ของการประชุม เฉพาะรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2475– พ.ศ. 2550 ทุกเล่มกำหนดหมายเลขประจำเล่มเรียงลำดับตั้งแต่เล่มแรก คือ หมายเลข 1 การจัดเก็บเอกสารทั้งสองประเภท พบว่า รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ่ 2475– พ.ศ. 2550 จัดเรียงตามหมายเลขในตู้เลื่อน ซึ่งตั้งแยกจากพื้นที่ที่ทำงานของเจ้าหน้าที่ และไม่ได้ออกแบบไว้สำหรับการจัดเก็บเอกสาร มีการควบคุมเอกสารด้วย “บัญชีเอกสาร” ส่วนระเบียบวาระการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2550 เก็บแต่ละเล่มเรียงตามลำดับปี และครั้งที่ประชุมในตู้เหล็กสองบานและตู้ไม้ ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ของห้องเก็บเอกสารราชการของสำนักการประชุม ไม่มีการกำหนดอายุการเก็บเอกสาร และยังไม่เคยมีการทำลายเอกสารทั้งสองประเภท สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการ ประชุมสภาสามารถใช้งานเอกสารได้ โดยขออนุญาตจากหัวหน้ากลุ่มงาน สำหรับบุคคลภายนอกต้องทำหนังสือขออนุญาต และกรอกแบบฟอร์มการขอใช้บริการผ่านกลุ่มงานข้อมูลข่าวสาร สำนักบริหารงานกลาง (2) จาก ผลการวิจัยและการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้บังคับบัญชา และผู้ปฏิบัติงาน สามารถพัฒนาระบบ จัดการเอกสารสิ้นกระแสการปฏิบัติงานของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรโดยใช้การจัดการเชิงระบบ เป็นกรอบ ประกอบด้วยปัจจัยนำเข้า ได้แก่การกำหนดนโยบาย หน่วยงานและผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน พื้นที่จัดเก็บ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยี มีการจัดสรรให้เหมาะสมและเพียงพอ มีกระบวนการโดยยึดตามหลักการจัดการ เอกสารตั้งแต่ การจัดทำ การควบคุม การจัดเก็บ การดูแลรักษาความปลอดภัย การใช้งานเอกสาร การกำจัด เอกสาร และผลลัพธ์ คือ มีระบบและเอกสารที่ผ่านกระบวนการแล้วมีความครบถ้วนสมบูรณ์ น่าเชื่อถือและ นำมาใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.130-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสภาผู้แทนราษฎรth_TH
dc.subjectเอกสารการประชุม--การจัดการth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบการจัดการเอกสารสิ้นกระแสการปฏิบัติงาน ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรth_TH
dc.title.alternativeThe development of the inactive records management system at The office of the Secretariat of the House of Representativesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.130-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to (1) study the state of the inactive records management of the Office of the Secretariat of the House of Representatives, and (2) develop the management system for the inactive records of the Office of the Secretariat of the House of Representatives. This study was a qualitative research, the purposely selected sampling groups were 1,051 volumes of the meeting minutes of the House of Representatives during B.E. 2475 – 2550, 160 volumes of meeting agenda of the House of Representatives during B.E. 2540 – 2550, two supervisors, and six practitioners. The instruments used in this study were data collecting forms and interview questions. Data were analyzed by descriptive narrative. The research results were as follows: (1) the state of the inactive records management of the Secretariat of the House of Representatives was that: the meeting minutes of the House of Representatives B.E.2475-2550 and the meeting agenda B.E.2540-2550 were bound in book form of appropriate size, on the cover and spine of each volume were printed the title, date and year. Each volume of meeting minutes was given a sequence number starting with No. 1 for the first volume. In terms of record management, meeting minutes were arranged in order by volume number on the shelves in mobile shelving system which were located outside the staff’s office and were not purpose-designed for records storage space. All meeting minutes were controlled by inventory list. Meanwhile, the meeting agendas were arranged by meeting date and kept in two-door cabinets and on wooden book shelves located in the record repository of the Bureau of the Minutes. There were no records retention periods for both types of records and records destruction had never happened. Both types of records could be accessed by the Members of the House of Representatives, Senators and the responsible staff with the permission of the supervisor of the division, while the outsiders had to request by filling in the forms and submitting to the Official Information Division, the Bureau of General Affairs Administration (2) From the research results and literature review, and interviewing data with supervisors and practitioners, a system for managing the inactive records of the Secretariat of the House of Representatives was developed. According to a systematic management framework, the components of the inactive records management system of the Secretariat of the House of Representatives were as follows: input – such as written policy, clearly assigned responsible unit or staff, sufficient and appropriate storage space, materials, equipment and technology for records management, records management; process – based on records management principles which were composed of creation, storage, maintenance and security, and use of records and output was the complete, accurate and useable records and an effective system for managing inactive recordsen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (9).pdfเอกสารฉบับเต็ม22.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons