Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12062
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐปกร รัศมี, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-05-28T03:33:45Z-
dc.date.available2024-05-28T03:33:45Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12062-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้านี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับแรงจูงใจในการทำงานและความสุขในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (2) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานกับความสุขในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (3) ข้อเสนอแนะแนวทางในการส่งเสริมแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการที่ปฏิบัติหน้าที่ประจำอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จำนวน 150 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างได้ 109 คน ด้วยสูตรของทาโรยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิแบบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับแรงจูงใจในการทำงานทั้ง 13 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ระดับความสุขในการทำงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานกับความสุขในการทำงาน พบว่า ปัจจัยค้ำจุนและปัจจัยจูงใจกับความสุขในการทำงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกอยู่ในระดับสูง (3) มหาวิทยาลัยควรให้ความสำคัญกับพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ โดยการสร้างความพึงพอใจในการทำงานให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของพนักงาน รวมถึงทำให้พนักงานมีแรงจูงใจในการทำงานมีผลต่อความสุขในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน เพื่อให้เกิดความมุ่งมั่นตั้งใจทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมายของตนเองและองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานและความสุขในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between job motivation and work happiness of university academic support staff at Nakhon Si Thammarat Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were (1) to study the level of job motivation and work happiness of university qcademic support staff at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, (2) to study the relationship between job motivation and work happiness of university academic support staff at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, and (3) to offer guidelines and suggestions for create job motivation of university academic support staff at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University. The population of the study was 120 university academic support staff of Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, who perform regular duties in the University. The sample size was calculated by Taro Yamane formula as a total of 109 university academic aupport staff, using stratified random sampling. The research instruments were questionnaires. The data were analyzed by using statistical value including frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson's correlation coefficient. The results showed that (1) the overall job motivation level of respondents in all 13 aspects was at a highest level. Their overall level of work happiness was at a highest level. (2) From the study of the relationship between job motivation and work happiness, it was found that hygiene factors and motivation factors were related to work happiness at a high level and positive in the same direction. (3) The University should give importance to the university academic support staff by creating work satisfaction that is appropriate to the knowledge and ability of the university academic support staff. This will automatically increase work motivation of university academic support staff and will also increase work happiness which help them commit, and determine to work successfully in accordance with their own goals and organization goalsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons