Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดจิต เจนนพกาญจน์th_TH
dc.contributor.authorวรา ชาภูคำ, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-28T08:04:51Z-
dc.date.available2022-08-28T08:04:51Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1206en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติความเป็นมาของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน ตำบลบ้านกล้วย อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี (2) อัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวนตำบลบ้านกล้วย อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี (3) การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรมที่มีผลต่ออัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ของไทยพวนตำบลบ้านกล้วย อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี (4) แนวทางในการสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ ไทยพวนตำบลบ้านกล้วย อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ให้ดำรงอยู่สืบไป วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้รู้และผู้นำในหมู่บ้าน จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่สภาวัฒนธรรมประจำตำบลบ้านกล้วย และสภาวัฒนธรรมจังหวัดลพบุรี จำนวน 3 คน พระจำนวน 2 รูป ชาวบ้านตำบลบ้านกล้วย จำนวน 10 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 25 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เจาะลึก และแบบสำรวจชุมชน แบบสังเกตไม่มีส่วนร่วม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ประวัติความเป็นมาของชาติพันธุ์ไทยพวน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-ลาว พูดภาษาตระกูลไท-กะได ซึ่งอพยพมาจากเมืองพวน แขวงเชียงขวาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 4 ครั้งด้วยกัน ส่วนการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่บ้านกล้วยได้อพยพเข้ามา เมื่อ พ.ศ. 2303 โดยมีท้าวสนั่นเป็นหัวหน้า (2) อัตลักษณ์วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน ประกอบด้วย การประกอบอาชีพ การแต่งกาย ที่อยู่อาศัย การถนอมอาหาร การรักษาโรค อัตลักษณ์ประเพณีของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน ประกอบด้วย การเกิด การแต่งงาน การตาย ด้านประเพณีงานบุญต่างๆ อัตลักษณ์ด้านศักยภาพของกลุ่มของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน อัตลักษณ์ด้านศักยภาพของกลุ่มองค์กรทางสังคมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน เช่น อัตลักษณ์วัฒนธรรม การประกอบอาชีพทอผ้า และการถนอมอาหารมีปลาส้มฟัก เป็นสินค้า “หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์” เป็นต้น (3) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลต่ออัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน ประกอบด้วย ครอบครัว กลุ่มสังคม ชุมชน ชนชั้น สหจร เช่น การเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมที่มีผลต่อสถาบันทางสังคมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน ประกอบด้วย สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันทางการเมือง สถาบันภาษา สถาบันศาสนา สถาบันนันทนาการ สถาบันการอนามัย สถาบันการคมนาคม สถาบันทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลต่ออัตลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน กลุ่มสังคมดั้งเดิมเป็นกลุ่มแบบเครือญาติมีการพึ่งพาอาศัยกัน ปัจจุบันมีการรวมกลุ่มโดยรัฐ ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มแม่บ้านทอผ้า เป็นต้น (4) การสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ของไทยพวนด้วยการส่งเสริมเผยแพร่ และการอนุรักษ์ให้ดำรงอยู่สืบไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.46en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพวน--ความเป็นอยู่และประเพณีth_TH
dc.titleอัตลักษณ์ไทยพวน : กรณีศึกษาไทยพวน ตำบลบ้านกล้วย อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeIdentity of Thai Phuan : a case study of BanKluay Sub-district Thai Phuan, Ban Mi Sub-district, Lop Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.46-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the background of the Tai Phuan ethnic group in Ban Kluai, Ban Mi District, Lopburi Province; (2) the group’s identity; (3) social and cultural changes that have affected the group’s identity; and (4) approaches for preserving and passing down the group’s identity. This was a qualitative research. The 25 key informants consisted of 10 village leaders and knowledgeable people; 3 representatives of the Ban Kluai District Cultural Council and the Lopburi Province Cultural Council; 2 Buddhist monks; and 10 local Ban Kluai residents. Data were collected using an in-depth interview form, community survey form, and non-participatory observation form. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) the Tai Phuan group studied was part of the Tai-Lao ethnic group. They spoke a language in the Tai-Kadai language group. They migrated to Thailand from Phuan in Xieng Khouang Province in present-day Laos on 4 different occasions. The group in Ban Kluai migrated in 1760, led by Tao Sanan. (2) The cultural identity of the Thai Phuan group consists of their way of making a living, their dress, habitation, food preservation techniques and healing practices. Their ceremonial identity consists of birth rituals, wedding rituals, death rituals, and merit-making rituals. The group potential identity and the social organization potential identity of the Thai Phuan consists of, for example, their cultural identity, such as textile weaving and making pla som fak preserved fish, which is a “One Tambon, One Product” product. (3) Social changes that affected the group’s identity were changes in the family, social groups, the community, social classes, and associations. Cultural changes that affected the group’s social institutions were changes in the institutions of family, education, economy, politics, language, religion, entertainment, sanitation, transportation, science and technology. For example, in terms of social groups, originally the Thai Phuan society consisted of mutually-dependent familial groups, but now the social groups are more organized by the government, such as groups of elders, and groups of weavers. (4) Approaches for passing down the Thai Phuan identity are to promote it, to disseminate information about it and to conserve it by living it.en_US
dc.contributor.coadvisorไพฑูรย์ มีกุศลth_TH
dc.contributor.coadvisorสุวิทย์ ไพทยวัฒน์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (10).pdfเอกสารฉบับเต็ม36.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons