Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12085
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิลาสินี ชูหวาน, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-30T08:07:46Z-
dc.date.available2024-05-30T08:07:46Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12085-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการออมและการลงทุนของพนักงานมหาวิทยาลัย 2) ศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการออมและการลงทุนของพนักงานมหาวิทยาลัย สำหรับประชากรในการศึกษา คือ พนักงานมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ คำนวณขนาดกลุ่มของตัวอย่างด้วยวิธีของ Taro Yamane ได้จำนวน 281 ตัวอย่าง เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31-35 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาโท ส่วนมากมีรายได้หลักมาจากงานประจำ รายได้รวมต่อเดือนเฉลี่ย 30,000 - 50,000 บาท มีภาระหนี้สินส่วนบุคคลระยะยาว ช่องทางการออมส่วนใหญ่คือ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ วัตถุประสงค์หลักของการออม คือสำรองไว้ในใช้ในยามฉุกเฉิน และช่องทางการลงทุนส่วนใหญ่คือ หุ้นสามัญ วัตถุประสงค์หลักในการลงทุนคือ สร้างความมั่งคั่ง มีความสามารถในการยอมรับความเสี่ยงจากการสูญเสียเงินจากการลงทุนที่มีโอกาสได้รับผลตอบแทนที่สูงขึ้น มีจำนวนเงินออมและจำนวนเงินลงทุนอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉลี่ย 3,000 บาทต่อเดือนเพราะมีการคาดการณ์ไว้แล้วว่าอาจจะต้องอยู่ตัวคนเดียวหลังจากเข้าสู่วัยเกษียณพฤติกรรมการออมและการลงทุนนั้นมีเพียงส่วนน้อยที่กล้ายืนยันความคิดของตนเอง เพราะยังขาดความรู้และขาดประสบการณ์ในการออมและการลงทุน ส่วนใหญ่เกิดการตัดสินใจจากการสอบถามบุคคลอื่นที่มีประสบการณ์ 2) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการออมและการลงทุน คือ เพศและรายได้รวมต่อเดือน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 โดยพบว่า เพศชายมีการออมมากกว่าเพศหญิง 2,056 บาทต่อเดือน และมีการลงทุนมากกว่าเพศหญิง 872 บาทต่อเดือน รายได้รวมต่อเดือนของพนักงานเพิ่มขึ้น 1 บาท ส่งผลให้มีการออมเพิ่มขึ้น 0.077 บาท และการลงทุนเพิ่มขึ้น 0.063 บาทth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์--พนักงาน--การเงินส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการออมและการลงทุนของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting saving and investment preference of employees of Valaya Alongkorn Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to 1) study the saving and investment behavior of university employees, and 2) study the factors affecting the savings and investment preference of employees of Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage. The population in the study were the employees of Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage. The group of 281 samples was calculated by Taro Yamane's method. Simple random sampling was used to collect the data. The data were analyzed by Pearson Correlation Test and multiple regression analysis. The results showed that 1) most of the samples were female, aged between 31-35 years old, graduated with a master's degree, obtained main income from full-time jobs, had an average gross monthly income of 30,000 – 50,000 baht, and had long-term personal debt burden. Most of the savings methods were provident funds. The main purpose of saving was to backup for emergencies. Most investment channels were common stocks. The main investment objective was to create wealth. They had the ability to accept the risk of losing money from investments with higher potential returns. There were a constant amount of savings and investment with an averaging of 3,000 baht per month because they predicted that they may have to live alone after retirement. For saving and investment behavior, it had only few people who were brave enough to assert their opinions because they lacked knowledge and experience in saving and investment. Most of the decision was made by asking other people with experience, and 2) factors affecting savings and investments were gender and gross monthly income, at the level of statistical significance of 0.05. It was found that males saved 2,056 baht per month more than females and also invested 872 baht per month more than females. If the total monthly income of employees increased by 1 baht, the savings would be increased by 0.077 baht and the investment would be increased by 0.063 bahten_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons