Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12086
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัณณวิช ทัพภวิมล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปิยพร ลีลาวิลาสชัย, 2537--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-30T08:14:56Z-
dc.date.available2024-05-30T08:14:56Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12086-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ความเป็นมา ลักษณะ และทฤษฎีของการกระทำที่เป็นการคุกคามทางเพศ (2) ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุกคามทางเพศในประเทศไทย สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และเครือรัฐออสเตรเลีย (3) วิเคราะห์และเปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายในประเทศไทยกับสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและเครือรัฐออสเตรเลีย และ (4) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาและแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการคุกคามทางเพศในประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยจากเอกสาร ผู้ศึกษาได้ทำการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กฎหมายของประเทศไทย กฎหมายของต่างประเทศ ซึ่งได้แก่ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และเครือรัฐออสเตรเลีย และกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงหนังสือ บทความ วารสาร เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์จากข้อมูลที่ได้จากการวิจัยเอกสารข้างต้น เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะต่อไป ผลการศึกษาพบว่า (1) มีแนวคิดที่สาคัญว่าการคุกคามทางเพศถือเป็นการเลือกปฏิบัติและเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน (2) กฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศ ซึ่งได้แก่สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและเครือรัฐออสเตรเลียต่างก็มีกฎหมายที่บังคับใช้เรื่องการคุกคามทางเพศ (3) กฎหมายไทยโดยเฉพาะประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 397 ยังมีปัญหาหลายประการ ได้แก่ ไม่มีคำนิยามของการกระทำความผิดดังเช่นกฎหมายต่างประเทศ การบัญญัติความผิดให้อยู่ในภาค 3 ลหุโทษแห่งประมวลกฎหมายอาญา อัตราโทษที่ต่ำเกินไปเมื่อเปรียบเทียบอัตราโทษที่มีกำหนดไว้ในกฎหมายต่างประเทศ และการที่กฎหมายแต่ละฉบับคุ้มครองการคุกคามทางเพศในกรณีแตกต่างกันไป และ (4) มีข้อเสนอแนะให้แก้ไขบทบัญญัติในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 397 โดยกำหนดคำนิยามของคำว่าการคุกคามทางเพศให้ชัดเจน กำหนดให้การคุกคามทางเพศเป็นความผิดโดยกำหนดในภาค 2 ความผิดเรื่องความผิดเกี่ยวกับเพศแห่งประมวลกฎหมายอาญา และนำบทเพิ่มโทษเรื่องความผิดเกี่ยวกับเพศมาใช้บังคับด้วย กำหนดอัตราโทษให้สูงขึ้นตามความเหมาะสม และกำหนดเหตุเพิ่มโทษของการคุกคามทางเพศให้ครอบคลุมกรณีต่าง ๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการคุกคามทางเพศ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการกำหนดความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการคุกคามทางเพศth_TH
dc.title.alternativeCriminalization of sexual harassmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research objected to (1) study the concept, history, type and theory of an act of sexual harassment, (2) study the laws related to sexual harassment in Thailand and foreign countries, (3) analyze and compare the measure of laws related to sexual harassment in Thailand and the Federal Public of Germany and the Commonwealth of Australia, and (4) propose the recommendation improvement and amendment the laws related to sexual harassment in Thailand. This research is a qualitative research using Documentary Research method. The researcher collected data which are the laws in Thailand, the laws in the Federal Republic of Germany and the Commonwealth of Australia and international laws including books, articles, journals, academic papers, research papers, thesis and information from internet network in both Thai and English language. For the data analysis, the researcher analyzed the qualitative data from information arisen from such aforesaid documents to be used for making further recommendations. The study found that (1) there is an important concept considering sexual harassment as discrimination and human rights violation, (2) There are Thai legislations and foreign legislations; the Federal Republic of Germany and the Commonwealth of Australia which applied for sexual harassment, (3) Thailand legislations, particularly section 397 of criminal code, still have some issues i.e. unclear definitions of an offense as foreign laws, specification an offense in part 2 misdemeanor of criminal code, improperly low rate of penalty compared with rate of penalty specified in foreign laws, and the variation of protection related to sexual harassment in different laws, and (4) the recommendation is to amend the provisions of section 397 of criminal code by clearly specifying the definition of sexual harassment, criminalizing of sexual harassment in part 2 offense of sex of criminal code along with applying provisions of offense of sex in sexual harassment, and specifying the events causing penalty increasing for sexual harassmenten_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons