Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12101
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปวินี ไพรทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจีรศักดิ์ เจ็กนอก, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-31T03:37:10Z-
dc.date.available2024-05-31T03:37:10Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12101-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี วิวัฒนาการ แนวทางการดำเนินคดีอาญากับผู้ป่วยจิตเวชและหลักการให้ความคุ้มครองสิทธิ (2) ศึกษาแนวทางในการดำเนินคดีอาญาและการให้ความคุ้มครองสิทธิผู้ต้องหาที่เป็นผู้ป่วยจิตเวชตามหลักสากล (3) ศึกษาเปรียบเทียบ วิเคราะห์ปัญหาแนวทางการดำเนินคดีอาญาและการให้ความคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยจิตเวชตามหลักกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และประเทศญี่ปุ่น (4) ศึกษาปัญหาและเสนอแนะแนวทางการแก้ไขกฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิ ในการดำเนินคดีอาญาผู้ป่วยจิตเวชของประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร จากตัวบทกฎหมาย ตำราทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ บทความ สื่อข้อมูลอินเตอร์เน็ตและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า (1) ตามหลักแนวคิด ทฤษฎี แนวทางในการดำเนินคดีอาญากับผู้ป่วยจิตเวชและการให้ความคุ้มครองสิทธิ ผู้ต้องหาต้องมีความสามารถเพียงพอ และความเท่าเทียมกันในการต่อสู้คดีได้ (2) แนวทางดำเนินคดีอาญากับผู้ป่วยจิตเวชตามหลักสากลเป็นหลักประกันและวิธีการนำไปสู่ความถูกต้องชอบธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบ (3) ในการดำเนินคดีอาญากับผู้ป่วยจิตเวชตามหลักกฎหมายไทยหากไม่มีความสามารถเพียงพอในการต่อสู้คดี ให้งดการดำเนินคดี โดยส่งเข้ารับการรักษา จนกว่าจะต่อสู้คดีได้ ส่วนการดำเนินคดีอาญาผู้ป่วยจิตเวชในต่างประเทศมีแนวทางคล้าย ๆ กันโดยผู้ป่วยจิตเวชต้องมีความสามารถเพียงพอต่อสู้คดีได้หรือต้องมีผู้แทนคดีและต้องมีการตรวจพิสูจน์ถึงความเป็นผู้ป่วยจิตเวชและความสามารถในการต่อสู้คดี เช่น สหรัฐอเมริกา มีศาลเป็นผู้พิจารณาเกี่ยวกับสภาวะจิตโดยการพิสูจน์ความเป็นผู้ป่วยจิตเวชโดยผู้เชี่ยวชาญประเทศอังกฤษ มีคณะลูกขุนเป็นผู้พิจารณาโดยความเห็นของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 2 คน ประเทศญี่ปุ่นหากเป็นผู้ป่วยจิตเวชจะต้องมีการตั้งผู้แทนคดีเพื่อดำเนินการแทน (4) ปัญหาที่พบคือ ในการดำเนินคดีอาญากับผู้ป่วยจิตเวชในชั้นพนักงานอัยการพบว่าหากผู้ต้องหามีอาการป่วยจิตเวชเกิดขึ้น กฎหมายมิได้ให้อำนาจพนักงานอัยการในการสั่งให้แพทย์ตรวจและเสนอความเห็นถึงความสามารถในการต่อสู้คดีได้ จึงต้องย้อนสำนวนกลับไปยังพนักงานสอบสวนเป็นผู้สั่งให้แพทย์ตรวจพิสูจน์ ทำให้กระบวนการดำเนินคดีเกิดความล่าช้าในทางปฏิบัติกระทบกับสิทธิของผู้ต้องหาที่เป็นผู้ป่วยจิตเวช และกรณีที่พนักงานสอบสวนดำเนินคดีกับผู้ต้องหาที่เป็นผู้ป่วยจิตเวชแต่มีความสามารถในการต่อสู้คดีโดยได้ดำเนินคดีเช่นเดียวกับผู้ต้องหาปกติทั่วไป ซึ่งเป็นการใช้ดุลพินิจในเรื่องความสามารถในการต่อสู้คดีเป็นหลักสำคัญมากกว่าอาการป่วยจิตเวช ผู้ศึกษาจึงเสนอแนะว่าควรแก้บทบัญญัติของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 14 โดยเพิ่มอำนาจส่งตรวจพิสูจน์ความเป็นผู้ป่วยจิตเวชของพนักงานอัยการและควรเพิ่มเติมบทบัญญัติของกฎหมายให้ผู้เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ของผู้ต้องหา สามารถยื่นแสดงหลักฐานถึงความเป็นผู้มีอาการป่วยจิตเวชและแสดงถึงความสามารถในเรื่องการต่อสู้คดีได้เพื่อเป็นการถ่วงดุลอำนาจของพนักงานสอบสวนในการใช้ดุลพินิจเรื่องความสามารถในการต่อสู้คดีของผู้ต้องหาที่เป็นผู้ป่วยจิตเวชเพียงฝ่ายเดียวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้ป่วยจิตเวช--คดีอาญาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleปัญหาการดำเนินคดีอาญากับผู้ป่วยจิตเวชในชั้นก่อนฟ้องth_TH
dc.title.alternativeThe problem of criminal prosecution against psychiatric patients in the previous classen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent research aims to (1) study the concepts and theories relating to the verification on use of state power, verification on assets and liabilities, criminal liability and punishment, and principal, provocateur, and abet, and offence conspiration; (2) study the laws relating to the abet of criminal offence in verifying assets and liabilities pursuant to the principles of Thai and foreign laws; (3) analyze the problems relating to the abet’s liability and punishment for the verification system of the assets and liabilities declaration; and (4) suggest a guideline for determining the abet’s liability and punishment in deliberate offence in misstatement of assets or liabilities declaration or concealment of fact which should be notified for acknowledgement. This independent study is a qualitative research using Documentary Research Method. The research was conducted from all related documents whether being articles of law, textbooks, articles, thesis, independent studies, researches, and electronic data both of Thailand and of foreign countries. The finding revealed that (1) according to the concepts and theories relating to the verification on use of state power, and liability and punishment in case of the deliberate misstatement of assets and liabilities declaration, the nature of the abet’s offence and penalty in the said offence has not currently been determined in the laws; (2) the nature of offence and penalty for the accomplish or particeps criminis in the nature of being abet has been determined in the laws of the foreign countries, for instance, United States of America, and French Republic; while the nature of the abet’s offence and penalty has not been determined in Thai laws at all; (3) the nature of offence and penalty particularly for the declarant of assets and liabilities declaration has been determined in Thai laws. This has caused the problem of no determination of the nature of the abet’s offence and penalty in the said offence, resulting in no fear of the abet against the laws, occurrence of gap in the incomprehensive verification on assets and liabilities causing inefficient positive laws as expected; and (4) the amendment guideline for the law which is the Organic Act on Anti-Corruption B.E. 2561 (2018) has been suggested to be consistent with the current problem conditions in verifying assets and liabilities for more efficient anti-corruptionen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons