Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษบา สุธีธรth_TH
dc.contributor.authorวีระพล สุขเอมโอษth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-31T06:46:04Z-
dc.date.available2024-05-31T06:46:04Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12106en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการสื่อสารผ่านอินทราเน็ต (2)การใช้ประโยชน์จากการสื่อสารผ่านอินทราเน็ต (3) ความพึงพอใจจากการสื่อสารผ่านอินทราเน็ต (4) ปัญหาและอุปสรรคในการใช้การสื่อสารผ่านอินทราเน็ต ประชากรที่ใช้ศึกษา คือ พนักงานของส่วนบริการลูกค้าทีโอทีจังหวัดสงขลา บริษัท ทีโอที จำกัด(มหาชน) จำนวน 233 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า พนักงานส่วนบริการลูกค้าทีโอที จังหวัดสงขลา (1) มีพฤติกรรมการใช้อินทราเน็ตเพื่อการสื่อสารกับเพื่อนร่วมงานและใช้ในการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน โดยเรียนรู้ทักษะในการสื่อสารผ่านอินทราเน็ตจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง (2) มีการใช้ประโยชน์จากการสื่อสารผ่านอินทราเน็ตอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยของการค้นหาข้อมูลเพื่อติดตามข่าวคราวความเคลื่อนไหวและกิจกรรมของทีโอทีอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ใช้เพื่อให้ได้รับข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ (3) มีความพึงพอใจที่ได้รับจากการสื่อสารผ่านอินทราเน็ตอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจในการใช้อินทราเน็ตซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของส่วนบริการลูกค้าทีโอทีจังหวัดสงขลาให้ดีมากยิ่งขึ้นอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ความพึงพอใจในระบบ e-mail (4) ปัญหา/อุปสรรค ที่เกิดกับประชากรที่ใช้ศึกษา ส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่า ระบบเครือข่ายมีความล่าช้าส่งผลต่อการเข้าถึงบริการต่างๆ บนอินทราเน็ตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท ทีโอที จำกัด(มหาชน)--พนักงานth_TH
dc.subjectการสื่อสาร--พฤติกรรมth_TH
dc.subjectพนักงานบริษัท--การทำงานth_TH
dc.subjectอินทราเน็ต (เครือข่ายคอมพิวเตอร์)--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการการสื่อสารการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจในการสื่อสารผ่านอินทราเน็ตของพนักงานส่วนบริการลูกค้าทีโอทีจังหวัดสงขลา บริษัท ทีโอที จำกัด(มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeCommunication behavior, utilzation, and satisfaction with internet communications of customer service employees of TOT Public Company Limited in Songkhla Provinceen_US
dc.typethen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) TOT Public Company Limited's customer service employees' intranet communications behavior; (2) their utilization of the intranet; (3) their satisfaction with the intranet; and (4) problems with the intranet. This was a survey research. The sample population consisted of 233 customer service employees at the Songkhla Province branch of TOT Public Company Limited. Data were collected using a questionnaire and analyzed using the descriptive statistics of percentage, mean, and standard deviation.The results showed that (1) The employees mainly used the intranet to communicate with their colleagues and to look up work-related information. They learned skills for using the intranet by themselves. (2) The employees said they utilized the intranet "very much." They used it for following news about TOT activities or developments the most, followed by using it to gain access to up-to-date news quickly. (3) Most employees reported that they were highly satisfied with the intranet. The highest mean satisfaction score was given for "helps improve the efficiency of customer service work" followed by "the e-mail system." (4) The major problem that was cited with the intranet was that it was slow, which meant the employees had to take a long time to access some services.en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140783.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons