Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12109
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยฉัตร ล้อมชวการ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศรุดา ธีระศักดิ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-31T07:53:38Z-
dc.date.available2024-05-31T07:53:38Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12109-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมในการรับชมเฟซบุ๊กไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y 2) การใช้ประโยชน์ในการรับชมเฟซบุ๊คไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y 3) ความพึงพอใจในการรับชม เฟซบุ๊คไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y 4) เปรียบเทียบการใช้ประโยชน์ในการรับชมเฟซบุ๊กไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ 5) เปรียบเทียบความพึงพอใจในการรับชมเฟซบุ๊กไลฟ์ ของกลุ่ม Gen Y และ 6) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรกับพฤติกรรมในการรับชม เฟซบุ๊กไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่ม Gen Y ที่มีอายุ 18 - 37 ปี หรือ เกิดในช่วงปีพ.ศ. 2524- 2543 ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เก็บข้อมูลโดยการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการทดสอบของฟิชเชอร์ และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการรับชมเฟซบุ๊กไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y ด้านความถี่ต่อเดือน 1-5 ครั้ง ด้านระยะเวลาต่อครั้ง น้อยกว่า 1 ชั่วโมง ด้านช่วงเวลาในการรับชม ได้แก่ 18.01-00.00 น. ด้านสถานที่ในการรับชมคือ ที่บ้าน และด้านอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับชม ได้แก่ สมาร์ทโฟน/ โทรศัพท์มือถือ2) การใช้ประโยชน์ในการรับชมเฟซบุ๊คไลฟ์ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 3) ความพึงพอใจใน การรับชมเฟซบุ๊คไลฟ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 4) การเปรียบเทียบการใช้ประโยชน์ในการรับชมเฟซบุ๊กไลฟ์ของ กลุ่ม Gen Y พบว่า กลุ่ม Gen Y ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ต่างกัน มีการใช้ประโยชน์ในการรับชม เฟซบุ๊กไลฟ์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .055) การเปรียบเทียบความพึงพอใจในการรับชม เฟซบุ๊กไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y พบว่า กลุ่ม Gen Y ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ต่างกัน มีความพึงพอใจใน การรับชมเฟซบุ๊กไลฟ์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 6) ลักษณะทางประชากร ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการรับชมเฟซบุ๊กไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความพอใจth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจในการรับชมเฟซบุ๊กไลฟ์ของกลุ่ม Gen Y ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe use and gratification of Bangkok Gen Y group on Facebook Live exposureth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the Facebook Live watching behavior of Gen Y people in Bangkok; 2) their utilization of Facebook Live; 3) their satisfaction with Facebook Live; 4) the relationship between the demographic factors of sex, age, educational level and profession and utilization of Facebook Live; 5) the relationship between the factors of sex, age, educational level and profession and level of satisfaction with Facebook Live; and 6) the relationships the factors of sex, age, educational level and profession have on Facebook Live watching behavior. This was a survey research. The sample was 400 people in the 18-37 age group (born between 1981 and 2000) living in Bangkok. The research tool was a questionnaire. The samples were chosen by accidental sampling. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t test, ANOVA, Fisher's pairwise comparison, and chi square. The results showed that 1) the majority of the samples watched Facebook Live 1 - 4 times a month, for less than one hour at a time. They usually watched during the time period 18:01 - 0:00, at home, on a smart phone or mobile phone. 2) Overall, the samples utilized Facebook Live to a medium level. 3) Overall, the samples had a high level of satisfaction with Facebook Live. 4) There were statistically significant (p<0.05) differences in Facebook Live utilization between samples of different ages, educational levels and professions. 5) There were statistically significant (p<0.05) differences in satisfaction with Facebook Live between samples of different sex, age, educational level and profession. 6) The demographic factors of sex, age, educational level and profession were related to Facebook Live watching behavior to a statistically significant degree (p<0.05)en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159566.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons