Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1210
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิตรา วีรบุรีนนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | นฤมล วสันต์, 2504- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-28T08:47:12Z | - |
dc.date.available | 2022-08-28T08:47:12Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1210 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องการฟ้อนผีฟ้าของชาวบ้านฝอยลม ตำบลท่าดอกคำ อำเภอบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านและพิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้าของชาวบ้านฝอยลม (2) พิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้า (3) การเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้า (4) แนวทางในการอนุรักษ์พิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้าวิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การ สังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสำรวจชุมชน ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้รู้จำนวน 5 คน ผู้ประกอบพิธีกรรม จำนวน 5 คน ผู้นำท้องถิ่น จำนวน 5 คน บริวารลูกศิษย์และประชาชน จำนวน 15 คน รวม 30 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า (1) บ้านฝอยลมเป็นหมู่บ้านเก่าแก่ที่อพยพมาจาก อำเภอชานุมาน จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อ พ.ศ.2425 ส่วนพิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้าของชาวบ้านฝอยลม สืบทอดมาจากบรรพบุรุษมาตั้งแต่เมื่อแรกตั้งหมู่บ้าน (2) พิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้าของชาวบ้านฝอยลมมี 2 รูปแบบ คือ 1) การฟ้อนเพื่อรักษาคนป่วย ซึ่งสามารถประกอบพิธีได้ทุกวันยกเว้นวันพระ 2) พิธีกรรมการเลี้ยงข่วงผีฟ้าประจำปี จะประกอบพิธีในวันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 และวันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 6 (3) การเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้าของชาวบ้านฝอยลม พบว่า พิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้ารักษาโรคมีการเปลี่ยนแปลงด้านวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรม ส่วนพิธีกรรมการเลี้ยงข่วงผีฟ้าประจำปีมีการเปลี่ยนแปลง ด้านองค์ประกอบ ด้านขั้นตอนการประกอบพิธีกรรมและด้านคติความเชื่อ (4) แนวทางในการอนุรักษ์พิธีกรรมการฟ้อนผีฟ้าของชาวบ้านฝอยลม มี 6 แนวทาง ได้แก่ แนวทางการสืบทอดการเป็นแม่หมอหรือครูบาใหญ่ แนวทางการเรียนรู้ของแม่หมอ แนวทางการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนจากผู้นำท้องถิ่น แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน แนวทางการให้ความร่วมมือจากลูกหลาน และแนวทางประกาศยกย่องให้เป็นครูภูมิปัญญาชาวบ้าน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.6 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การรำ--ไทย--บึงกาฬ | th_TH |
dc.title | การฟ้อนผีฟ้าของชาวบ้านฝอยลม ตำบลท่าดอกคำ อำเภอบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ | th_TH |
dc.title.alternative | Phi Fa Dance of Foi Lom village, Tha Dok Kham Sub-district, Bueng Khong Long District, Bueng Kan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.6 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) the history of Foi Lom Village, Tha Dok Kham Sub-district, Bueng Khong Long District, Bueng Kan Province, and its Phi Fa Dance ritual; (2) details of the Phi Fa Dance ritual; (3) changes in the ritual; and (4) approaches for preserving the tradition of Phi Fa Dance.This was a qualitative research based on documentary research, participatory observation and in-depth interviews with a sample of 30 key informants consisting of 5 knowledgeable people, 5 ritual Phi Fa dancers, 5 local leaders, and 15 disciples or villagers. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) Foi Lom Village was an old village settled by people who moved in from Chanuman District, Ubol Ratchathani, in 1882. The Phi Fa Dance tradition has been followed since ancient times, and the exact date of its origin is unknown. It has been passed down from parents to children and grandchildren. (2) There are two forms of Phi Fa Dance: 1. dance to heal the sick, which can be performed any day except a Buddhist holy day; and 2. dance for the annual offerings to Phi Fa spirits, which take place on the full moon days of the third and the sixth lunar months. (3) The Phi Fa Dance ritual to heal the sick has changed over time in terms of the materials used and the Phi Fa annual offering dance ritual has changed in terms of the components of the ritual, the steps, and the associated beliefs. (4) Six approaches were suggested for preserving the tradition: bequeathal of the role of teacher or dance leader, teaching on how to be a dance leader, assistance and support from local leaders, teaching about the ritual in schools, cooperation from younger generations, and recognition of the dancers as teachers of local intellect. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุดจิต เจนนพกาญจน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (14).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 42.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License